Reports to the Stock Exchange
) สรุปข้อสนเทศ : IVL (แก้ไข)
สามารถควบคุมราคาของวัตถุดิบ หลักซึ่งได้แก่ PTA ได้ในระดับหนึ่ ง นอกจากนี้ บริ ษัทฯ ยังตั้งใจที่ จะหลีกเลี่ยงการ แข่งขันกับผู้ผลิตโพลีเอสเตอร์สำหรับสินค้าโภคภัณฑ์ที่มีขนาดใหญ่กว่า โดยวิธีการมุ่งเน้นการขยายการผลิตผลิตภัณฑ์ ที่ไม่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ให้มีจำนวนประมาณครึ่งหนึ่งของผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ทั้งหมดของบริษัทฯ โดยทั่ว ไป ผู้ ผลิตโพลีเอสเตอร์ร ยใหญ่ซึ่งมุ่ งเน้นในปริม ณการขาย มักจะขาดช่อ งทางในการทำการตลาด สำหรับการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เฉพาะกลุ่ม จึงทำให้ระดับการแข่งขันในตลาดสินค้าเฉพาะกลุ่มอยู่ในระดับปานกลางถึง ระดับต่ำ และแรงกดดันด้านราคาก็มักจะต่ำกว่าผลิตภัณฑ์เส้นใยโพลีเอสเตอร์มาตรฐาน หรือเม็ดพลาสติก PET โดยที่ใน ตลาดสินค้าเฉพาะกลุ่ม การแข่งขันจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้คุณภาพและตรงตามคุณสมบัติ เฉพาะ และระยะเวลาในการส่งมอบผลิตภัณฑ์ ในทวีปยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปเอเชีย ไม่ปรากฎว่ามีการกำหนดภาษีเพื่อตอบโต้การทุ่มตลาด (Anti- Dumping) ภาษี การนำเข้า หรือ พิกั ดภาษี สำ หรั บผลิต ภัณ ฑ์เ ส้น ใยและเส้น ด้า ยโพลี เอสเตอร์ หรื อ ผลิ ตภั ณฑ์ โพลีเ อ สเตอร์อื่นที่บริษัทฯ จำหน่าย ที่อาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อธุรกิจ ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และโอกาส ทางธุรกิจของบริษัทฯ ตารางดังต่อไปนี้แสดงข้อมูลสรุปเกี่ยวกับคู่แข่งของบริษัทฯ ในผลิตภัณฑ์โพลีเอสเตอร์ ผลิตภัณฑ์ ตลาดในประเทศ ตลาดส่งออก ชิพพลาสติกแบบใช้ทำฟิล์ม Huvis-Korea Toray-Korea, SK Keris-Indonesia, Mitsubishi Chemical, Tejin - Japan เส้นใย บจ. กังวาลโพลีเอสเตอร์ บจ. Reliance, Formosa, Huvis, Far Eastern Textiles, Recron เทยิน โพลีเอสเตอร์ บจ. ไทย Polyester (Reliance), Nan Ya, Alpek โพลีเอสเตอร์ เส้นด้าย บจ. กังวาลโพลีเอสเตอร์ บจ. เท Recron Polyester, SK Chemicals, Polyfinis - Indonesia, CFC ยิน โพลีเอสเตอร์ บจ. ไทย โพลี China, Xiangshang- China, Far Eastern เอสเตอร์ 3. กลุ่มธุรกิจ PTA เนื่องจาก PTA เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ การแข่งขันในตลาด PTA จึงขึ้นอยู่กับราคาเป็นหลัก รองลงมาคือคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ และระยะเวลาส่งสินค้า ผู้ผลิต PTA สามารถจำแนกเป็นผู้ผลิตที่เป็นผู้ค้า และผู้ผลิต PTA แบบครบวงจร ผู้ผลิตที่เป็นผู้ค้าจะผลิตและจัดหา PTA ให้แก่บุคคลภายนอก ในขณะที่ผู้ผลิต PTA แบบครบวงจรจะผลิต PTA เพื่อการ บริโภคของตนเอง ซึ่งบริษัทฯ เป็นผู้ผลิต PTA แบบครบวงจร ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 มีผู้ผลิต PTA เพียงสองรายในประเทศ ได้แก่ Siam Mitsui และบริษัทฯ โดยบริษัท ฯ เชื่อว่า Siam Mitsui ซึ่งเป็นผู้ผลิตที่เป็นผู้ค้ามีกำลังการผลิตติดตั้งอยู่ประมาณ 1,500,000 ตันต่อปี ทั้งนี้ ในตลาด ส่ ง ออกระหว่ งประเทศ บริ ษั ท ฯ ยั ง ต้ อ งแข่ ง ขั น กั บ ผู้ ผ ลิ ต PTA ที่ เ ป็ น ผู้ ค้ ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ใ นทวี ป เอเชี ย ทวี ป ยุ โ รป และ สหรัฐอเมริกา ซึ่งรวมถึง BP, CAPCO, Zhejiang Hualian Sunshine, Mitsubishi Chemical Corporation, Samsung Petrochemical, Sinopec Yizheng Chemical Fibre Co.Ltd, Mitsui Chemicals, Sam Nam Petrochemical และ Dragon Group บริษัทฯ ไม่ขาย PTA ที่บริษัทฯ ผลิตในทวีปยุโรปให้แก่บุคคลภายนอก แต่บริษัทฯ ผลิตเพื่อการบริโภค ภายในกลุ่มของบริษัทฯ เอง แม้ว่าการอนุญาตให้ใช้สิทธิทางพาณิชย์เป็นช่องทางให้นำเทคโนโลยีการผลิต PTA มาใช้ประโยชน์ได้ แต่ บริษัทฯ เชื่อว่าจำนวนเงินลงทุนทั้งหมดที่จำเป็นสำหรับการทำธุรกิจแบบประหยัดต่อขนาดเพื่อทำกำไรนั้น อาจสกัดกั้นผู้ ลงทุนรายใหม่จากการเข้าสู่ตลาดได้ ในทวีปยุโรป ทวีปเมริกาเหนือ และทวีปเอเชีย ไม่มีการกำหนดภาษีเพื่อตอบโตการ ทุ่มตลาด ภาษีนำเข้า หรือพิกัดภาษีสำหรับ PTA ที่มีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตาม ประเทศจีนกำลังพิจารณาที่จะเรียกเก็บ ภาษีเพื่อตอบโต้การทุ่มตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์ PTA จากประเทศไทยและประเทศเกาหลี บริษัทฯ คาดว่าการเก็บภาษีนี้ จะไม่มีผลกระทบในทางลบกับธุรกิจ PTA ของบริษัทฯ อย่างมีนัยสำคัญ บริษัทฯ เชื่อว่าไม่มีสิ่งที่จะทดแทนหรือสามารถแข่งขันกับ PTA ที่จะสามารถนำมาใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ของโพลีเอสเตอร์ ได้ โดยเมื่อเปรียบเทียบ DMT กับ PTA แล้ว DMT ยังเสียเปรียบอยู่มากเนื่องจากการใช้ DMT เป็น วัตถุดิบต้องใช้ต้นทุนที่สูงกว่า ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โรงงานผลิตของบริษัทฯ มีการปล่อยสิ่งปฏิกูลซึ่งเป็นของเหลวและก๊าซ รวมถึงสิ่งปฏิกูลซึ่งเป็นกากของแข็ง และชิ้นส่วนโพลีเมอร์ ทั้งนี้ การดำเนินกระบวนการผลิตในขั้นตอนต่างๆ ของบริษัทฯ จะต้องได้รับการอนุมัติและอนุญาต จากหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยบริษัทฯ ได้รับใบอนุญาตหรืออยู่ในระหว่างการดำเนินการขอออกใบอนุญาตที่จำเป็น ทั้งหมดของบริษัทฯ แล้ว บริ ษั ท ฯ ได้ ติ ด ตั้ ง ระบบบำ บั ด น้ำ เสี ย ซึ่ ง ออกแบบเพื่ อ ใช้ ใ นโรงงานของบริ ษั ท ฯ เป็ น การเฉพาะ โดยผ่ น กระบวนการบำบัดน้ำหลายขั้นตอนเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น ก่อนทำการปล่อยน้ำออกสู่ทาง ระบายน้ำเพื่อไหลลงสู่ ทะเลต่ อไป ในส่ วนของการปล่ อยก๊ ซ บริ ษัทฯ ได้ติด ตั้ง ระบบกำจัด ฝุ่น กลิ่ นไอของสารเคมี ที่ หลายหลาก (Wet Scrubbers) รวมทั้ง ในรู ป แบบระบบพ่ น โซเดีย มไฮดรอกไซด์ (Sodium Hydroxide Spray Scrubbers) ระบบโรตารี่ (Rotary Scrubbers) ระบบเวนจูรี่ (Venturi Scrubbers) และระบบ Catalytic Destruction เพื่อลดปริมาณการฟุ้งกระจายของอนุภาคขนาดเล็ก และสารอินทรีย์ไอระเหย เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมาย กำหนด นอกจากนี้ สิ่ง ปฏิกู ลซึ่ง เป็น ของแข็ง ของบริษั ทฯ โดยส่ วนใหญ่จ เป็ นกากของแข็ งและชิ้น ส่วนโพลี เมอร์ ซึ่ ง บริษัทฯ ได้ว่าจ้างผู้รับกำจัดสิ่งปฏิกูลรับอนุญาตมาดำเนินการกำจัดสิ่งปฏิกูลดังกล่าวอย่างสม่ำเสมอ เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2553 บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ได้รับหนังสือจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ("การนิคมฯ") ซึ่งแจ้งว่าจากการตรวจสอบโรงงานผลิต PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม นั้น บจ. อินโดรามา ปิโตร เคม ได้ดำ เนินการกำ จัดสิ่ง ปฏิกูล โดยใช้วิธีก รกำ จัดโดยการเผาทำลายที่เครื่ อง Thermal Oxidizer โดยไม่ ได้รั บ อนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังพบว่ามีร่องรอยการรั่วของสารเคมีตามบริเวณข้อต่อต่าง ๆ ของเครื่อง Thermal Oxidizer และค่าออกไซด์ของไนโตรเจนที่ระบายออกจากปล่องของเครื่อง Thermal Oxidizer และค่า คาร์บอนมอนอกไซด์ที่ Vent Scrubber มีค่าเกินเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และมีกลิ่นสารเคมีจากโรงงาน ดังนั้น การนิคมฯ จึงมี คำสั่งให้ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ระงับการกำจัดสิ่งปฏิกูลโดยใช้เครื่อง Thermal Oxidizer ทันที และให้ดำเนินการ ปรับปรุงระบบขจัดมลพิษทางอากาศของโรงงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2553 บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ได้หยุดเดินเครื่อง Thermal Oxidizer แล้ว ตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม 2553 และได้ทำ การแก้ไขปรับปรุงรอยรั่วต่าง ๆ และจะไม่ดำเนินการกำจัดสิ่งปฏิกูลโดยใช้เครื่อง Thermal Oxidizer จนกว่าจะได้รับ ใบอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมให้ดำเนินการดังกล่าวได้ โดยเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2553 บจ. อินโดรามา ปิโตร เคม ได้ยื่นคำขออนุญาตให้ใช้เครื่อง Thermal Oxidizer ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดย บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม สามารถดำเนินการผลิตของโรงงานผลิต PTA ได้เต็มตามกำลังการผลิตติดตั้ง ถึงแม้ว่าจะไม่มีการเดินเครื่อง Thermal Oxidizer ทั้งนี้ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ได้ว่าจ้างผู้ประกอบการภายนอกที่ได้รับอนุญาต ให้มาดำเนินการขนย้ายสิ่ง ปฏิกูลออกจากโรงงาน PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม เพื่อไปกำจัด เป็นระยะ ๆ จนกว่าจะสามารถเดินเครื่อง Thermal Oxidizer ได้ โดยก่อนที่จะมีการขนย้ายสิ่งปฏิกูลนั้น สิ่งปฏิกูลจะถูกรวบรวมจากกระบวนการผลิต และจะถูกเก็บ ไว้ที่ภาชนะถังเก็บแบบปิดที่โรงงานผลิต PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม จนกว่าผู้ประกอบการภายนอกที่ได้รับ อนุญาตดังกล่าวจะขนย้ายสิ่งปฏิกูลออกไป บริษัทฯ เชื่อว่าวิ ธีการกำจัดสิ่งปฏิกูลซึ่ง บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ใช้อ ยู่ เป็นวิธีการกำจัดสิ่งปฏิกูลที่ปราศจากกลิ่น และไม่น่าจะส่งผลทางด้านสิ่งแวดล้อม หากสิ่งปฏิกูลนั้นได้มีการจัดเก็บและ ขนย้ายอย่างเหมาะสม โดย บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ได้รับอนุญาตให้ขนย้ายสิ่งปฏิกูลออกจากโรงงานได้ถึงจำนวนที่ ได้รับอนุญาต ซึ่งจำนวนที่ได้รับอนุญาตดังกล่าวครอบคลุมเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน และสามารถดำเนินการยื่นขอ อนุญาตในการเพิ่มจำนวนดังกล่าวได้เป็นครั้งคราว บริษัทฯ ไม่คาดว่าการขนย้ายสิ่งปฏิกูลเพื่อไปกำจัดโดยผู้ประกอบการ ภายนอกที่ได้รับอนุญาตจะมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อต้นทุนในการขายสินค้าของบริษัทฯ ภายใต้กฎหมายไทยที่ เกี่ ย วกั บ การกำ จั ด สิ่ ง ปฏิ กู ล นั้ น ผู้ ป ระกอบการภายนอกที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ ตจะต้ อ งรั บ ภาระความรั บ ผิ ด ต่ อ สิ่ ง ปฏิ กู ล เมื่ อ รั บ ดำเนินการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูล และได้ลงลายมือชื่อในใบกำกับการขนส่งของเสียอันตรายแล้ว ทั้งนี้ จากการตรวจวัดค่าล่าสุดโดยผู้ตรวจวัดที่เป็นบุคคลภายนอกที่ได้รับการขึ้นทะเบียน เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2553 ค่าคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ปล่อยสู่บรรยากาศมีค่าต่ำกว่าเกณฑ์สูงสุดที่กำหนดที่ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ต้อง ปฏิบัติ ตาม ทั้งนี้ เนื่องจาก บจ. อินโดรามา ปิโ ตรเคม ได้หยุด การเดินเครื่อง Thermal Oxidizer แล้ว จึงทำ ให้ไม่ สามารถตรวจวัดค่าออกไซด์ของไนโตรเจนดังกล่าวได้ จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมให้กำจัดสิ่ง ปฏิกูลโดยใช้เครื่อง Thermal Oxidizer และเดินเครื่อง Thermal Oxidizer อีกครั้ง ทั้งนี้ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม มี แผนที่จะว่าจ้างผู้ตรวจวัดที่เป็นบุคคลภายนอกที่ได้รับการขึ้นทะเบียนให้มาตรวจวัดค่าออกไซด์ของไนโตรเจนดังกล่าว เมื่อถึงเวลานั้น หากผลการตรวจวัดพบว่าค่าดังกล่าวเกินกว่าเกณฑ์สูงสุดที่กำหนด บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม จะหยุด เดินเครื่อง Thermal Oxidizer และจะดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องเพื่อให้ค่าออกไซด์ของไนโตรเจนที่ออกจาก เครื่อง Thermal Oxidizer อยู่ภายในเกณฑ์ที่กำหนด และจะดำเนินการว่าจ้างผู้ประกอบการภายนอกที่ได้รับอนุญาตมา ขนย้ายสิ่งปฏิกูลเพื่อนำไปกำจัดจนกว่าค่าออกไซด์ของไนโตรเจนที่ออกจากเครื่อง Thermal Oxidizer อยู่ภายในเกณฑ์ ที่กำหนด บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ตั้งใจที่จะดำเนินการว่าจ้างผู้ตรวจวัดที่เป็นบุคคลภายนอกที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมา ดำเนินการตรวจวัดค่าคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าค่าดังกล่าวยังอยู่ในเกณฑ์ที่อนุญาต ในเวลาที่การ นิคมฯ เข้ามาตรวจโรงงาน PTA ณ วันที่ หรือก่อนวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2553 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2553 การนิคมฯ ได้ส่งหนังสือมาถึง บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม โดยแจ้งว่าได้รับทราบ การดำเนินการเพื่อแก้ไขเรื่องต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในหนังสือของการนิคมฯ ทั้งนี้ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม เชื่อว่าการ ดำเนินการดังกล่าวจะส่งผลให้ค่าออกไซด์ของไนโตรเจนและค่าคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ปล่อยสู่บรรยากาศ อยู่ในเกณฑ์ที่ ได้รับอนุญาต นอกเหนื อ จากที่ ไ ด้ อ ธิบ ยข้ งต้ น บริ ษั ท ฯ มี ร บบจั ด การสิ่ ง ปฏิกู ล ซึ่ ง ช่ว ยให้ การประกอบธุ รกิ จ ของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปตามกฎหมาย และกฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มทั้ ง ในประเทศไทย สหรั ฐ อเมริ ก สหราชอาณาจั ก ร ประเทศเนเธอร์แลนด์ และประเทศลิธัวเนีย บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส Orion Global บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสต รี้ส์ (ที่จังหวัดนครปฐม) บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม และบมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ ต่างได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 14001 สำหรับระบบการจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ โรงงานที่เมือง Rotterdam ยังได้เข้าร่วมโครงการ Dutch chemical association Responsible Care Program อีกด้วย ทั้งนี้ ในปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 และงวดเก้าเดือนสิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 การประกอบธุรกิจของ บมจ. อิ น โดรามา เวนเจอร์ ส และบริ ษั ท ย่ อ ยของบมจ. อิ น โดรามา เวนเจอร์ ส ในประเทศไทย สหรั ฐ อเมริ ก สหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์ และประเทศลิธัวเนีย ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเกินกว่าขอบเขตที่กฎหมาย ในแต่ละประเทศกำหนดอย่างมีนัยสำคัญ และไม่อยู่ระหว่างถูกกล่าวหาจากหรือมีข้อพิพาทกับหน่วยงานของรัฐในเรื่อง ดังกล่าว เว้นแต่ ข้อพิพาทเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและระบบ บำบัดมลพิษทางอากาศโรงงานผลิต PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ซึ่งเป็นข้อพิพาทในศาลปกครองกลาง (โปรด ดูรายละเอียดเพิ่มเติมของข้อพิพาททางกฎหมายดังกล่าวในหัวข้อกรณีพิพาท) สรุปสาระสำคัญของสัญญา 1. สัญญาเช่าระยะยาว ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 บริษัทฯ มีการทำสัญญาเช่าระยะยาวที่สำคัญที่มีอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป เพื่อใช้ใน การประกอบธุรกิจ โดยสัญญาเช่าที่สำคัญ มีสาระสำคัญดังต่อไปนี้ 1. ธุรกิจ PET AlphaPet AlphaPet เข้าทำสัญญาเช่าที่ดิน (Ground Lease Agreement) กับ BP โดยมีเนื้อที่ประมาณ 40 เอเคอร์ ซึ่ง ตั้งอยู่ในพื้นที่ตั้งโรงงานในเมือง Decatur รัฐ Alabama สหรัฐอเมริกา เพื่อทำการก่อสร้างส่วนเพิ่มเติมหรือส่วนปรับปรุง ใด ๆ ที่จำเป็นต่อการดำเนินการของโรงงานผลิต PET ของ AlphaPet สัญญาเช่ามีระยะเวลา 20 ปี โดย AlphaPet สามารถขยายระยะเวลาการเช่าได้สองครั้ง ครั้งละ 20 ปี โดยมีค่าเช่าตามที่ระบุไว้ในสัญญา Orion Global Pet Orion Global Pet เข้าทำสัญญาเช่าช่วงกับ UAB Klaipeda Free Economic Zone Management Company ("บริษัทจัดการ") สำหรับเนื้อที่ 3.7613 เฮกต้าร์ (hectares) สัญญาเช่าช่วงมีระยะเวลา 99 ปี 2. ธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ เช่าที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กับการ นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อก่อสร้างอาคารโรงงานและประกอบกิจการอุตสาหกรรมผลิตเส้นใยประดิษฐ์ (Polyester Staple Fibre, Polyester Pre-Oriented Yarn, Polyester Draw Texture Yarn) จำนวนเนื้อที่ประมาณ 200 ไร่ มีกำหนดระยะเวลาเช่า 30 ปี ตั้งแต่วันที่ 13 พฤษภาคม 2531 ถึงวันที่ 12 พฤษภาคม 2561 และต้องจ่ายค่าเช่าเป็น รายปี ในอัตราปีละ 27,600 บาท ต่อเนื้อที่หนึ่งไร่ โดยผู้เช่ายินยอมให้ผู้ให้เช่าปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอัตราค่าเช่าได้ทุก ๆ 10 ปี ในอัตราไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าเช่าในขณะนั้น ทั้งนี้ ในปีสุดท้ายก่อนสัญญาจะสิ้นสุดไม่น้อยกว่า 6 เดือน หาก ประสงค์จะเช่าที่ดินต่อไปอีก ผู้เช่าต้องแจ้งความประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้ให้เช่าทราบ และผู้ให้เช่าจะพิจารณา ให้เช่าต่อไปอีก 20 ปี อย่างไรก็ตาม บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ ได้มอบสิทธิการเช่าตามสัญญาเช่าที่ดิน ดังกล่าว เพื่อค้ำประกันเงินกู้ยืมและวงเงินสินเชื่อที่ได้รับกับธนาคารแห่งหนึ่งในประเทศโดยมีภาระหลักประกันเท่ากับ 4,430 ล้านบาท 3. ธุรกิจ PTA บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ เช่าที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กับการนิคม อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อก่อสร้างอาคารโรงงานและประกอบกิจการอุตสาหกรรมผลิตสาร PTA จำนวนเนื้อที่ ประมาณ 150 ไร่ มีกำหนดระยะเวลาเช่า 30 ปี ตั้งแต่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2535 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 และต้องจ่าย ค่าเช่าเป็นรายปี ในอัตราปีละ 27,600 บาท ต่อเนื้อที่หนึ่งไร่ โดยผู้เช่ายินยอมให้ผู้ให้เช่าปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอัตราค่า เช่าได้ทุก ๆ 10 ปี ในอัตราไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าเช่าในขณะนั้น ทั้งนี้ ในปีสุดท้ายก่อนสัญญาจะสิ้นสุดไม่น้อยกว่า 6 เดือน หากผู้เช่าประสงค์จะเช่าที่ดินต่อไปอีก ต้องแจ้งความประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรให้ผู้ให้เช่าทราบ และผู้ให้เช่า จะพิจารณาให้เช่าต่อไปอีก 20 ปี บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม เข้าทำสัญญาเช่าพื้นที่สำหรับระบบสนับสนุนท่อส่งซึ่งตั้งอยู่ในเขตนิคมอุตสาหกรรม ตะวันออกและเขตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กับ บจ. อีสเทิร์น ฟลูอิด ทรานสปอร์ต เพื่อวัตถุประสงค์ในการติดตั้ง ดำเนินงาน และบำรุงรักษา ระบบท่อส่ง และท่อส่ง ซึ่งรวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ ที่ใช้เพื่อส่งและรับผลิตภัณฑ์ ใด ๆ ผ่านระบบท่อส่งของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม โดยมีกำหนดระยะเวลาเช่า 15 ปี ตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม 2549 ถึง วันที่ 8 มกราคม 2564 โดยมีค่าเช่าตามที่ระบุไว้ในสัญญา นอกจากนี้ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม เข้าทำสัญญาเช่าถังเก็บสารเคมีและให้บริการ กับ บจ. ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2547 เพื่อเก็บ PX และกรดอะซิติค ที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต PTA โดยมีระยะเวลาเช่า 15 ปี โดย บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม มีสิทธิต่ออายุสัญญาได้ และมีค่าเช่าตามที่ระบุไว้ในสัญญา IRH Rotterdam ในการเข้าซื้อทรัพย์สินของ Eastman Chemicals ใน Rotterdam นั้น IRH Rotterdam ได้รับประโยชน์จาก เอกสารการโอน (Transfer Deed) โดย IRH Rotterdam ได้รับสิทธิการเช่าชั่วคราวที่ได้รับมาแต่เดิมจาก Municipality of Rotterdam ให้แก่ Eastman Chemicals สำหรับเนื้อที่ดินจำนวน 4 ไร่ ในโรงงานผลิต PTA ของ IRH Rotterdam และโรงงานผลิต PET ของ IRP Rotterdam รวมถึงท่าเรือในบริเวณใกล้เคียง สิทธิในการเช่าชั่วคราวจะหมดอายุในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2636 ทั้งนี้ ค่าเช่าจะมีการปรับทุกปีตามการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผู้บริโภค นอกจากนี้ ผู้เช่ายังต้อง จ่ายค่าเทียบท่าด้วย (berthing dues) IRH Rotterdam ได้เข้าทำสัญญาเช่าช่วงกับ IRP Rotterdam เพื่อให้เช่าช่วงที่ดินในบริเวณพื้นที่ที่ตั้งของ โรงงานผลิต PET ของ IRP Rotterdam โดยสัญญาเช่าช่วงจะหมดอายุในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2636 2. สัญญาอนุญาตให้ใช้ชื่อ (License Agreement) ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552 คู่สัญญา: ผู้ให้สิทธิ : Lohia Global Holdings Limited ผู้ได้รับสิทธิ : บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ความสัมพันธ์: นายเอ็ม แอล โลเฮีย ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ และเป็นกรรมการของ Lohia Global Holdings Limited เป็นบิดา ของ นายศรี ปรากาซ โลเฮีย และนายอาลก โลเฮีย ซึ่งเป็นกรรมการของบมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เหตุผลและความจำเป็น: Lohia Global Holdings Limited ซึ่งเป็นเจ้าของชื่อ "INDORAMA" อนุญาตให้ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ใช้ชื่อ "INDORAMA" แบบ Non-Exclusive ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ทั้งนี้ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส สามารถช่วงสิทธิ การใช้ชื่อ "INDORAMA" ให้แก่บริษัทย่อยได้ เงื่อนไขและค่าตอบแทนตามสัญญา: บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส สามารถใช้ชื่อ "INDORAMA" โดยไม่มีกำหนดเวลา (perpetual period) ทั้งนี้ บมจ. อิน โดรามา เวนเจอร์ส จะต้องจ่ายค่าใช้สิทธิ (Royalty fees) ตามเงื่อนไขในสัญญา Royalty Fees Agreement ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552 3. สัญญาค่าใช้สิทธิ (Royalty Fees Agreement) ลงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552 คู่สัญญา: ผู้ให้สิทธิ : Lohia Global Holdings Limited ผู้ได้รับสิทธิ : บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ความสัมพันธ์: นายเอ็ม แอล โลเฮีย ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ และเป็นกรรมการของ Lohia Global Holdings Limited เป็นบิดา ของนายศรี ปรากาซ โลเฮีย และนายอาลก โลเฮีย ซึ่งเป็นกรรมการของบมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เหตุผลและความจำเป็น: ค่าธรรมเนียมดังกล่าว เป็นผลจากการเข้าทำตามสัญญาอนุญาตให้ใช้ชื่อ (License Agreement) กับ Lohia Global Holdings Limited ตามที่กล่าวมาแล้วในข้อ 2 เงื่อนไขและค่าตอบแทนตามสัญญา: บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ต้องจ่ายค่าใช้สิทธิ (Royalty fees) ให้แก่ Lohia Global Holdings Limited ในอัตราปี ละ 0.5 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ต่อตันของปริมาณผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ ผลิตได้ (ไม่รวมของเสียจากการผลิต) ทั้งนี้ ไม่เกิน ร้อยละ 1 ของกำไรก่อนหักภาษีของบริษัทฯ ที่ปรากฏในงบการเงินรวมของบริษัทฯ ที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว โดยจะ จ่ายเป็นรายไตรมาส โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2553 - ไม่มี - การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ - ไม่มี - การให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิคและการจัดการ โครงการดำเนินงานในอนาคต บริษัทฯ มีวัตถุประสงค์ที่จะเสริมสร้างและส่งเสริมสถานะความเป็นผู้นำทางการตลาดในปัจจุบันของบริษัทฯ ใน แต่ละภูมิภาคที่บริษัทฯ ประกอบกิจการ และขยายที่ตั้งของบริษัทฯ ในเชิงภูมิศาสตร์ผ่านการเติบโตตามปกติ (Organic Growth) และการเข้ ซื้ อ กิ จ การอื่ น ในลั ก ษณะที่ เ ป็ น การเพิ่ ม มู ล ค่ ในอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี โดยมุ่ ง เน้ น ที่ อุตสาหกรรมต่อเนื่องของโพลีเอสเตอร์ โดยเฉพาะ บริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะเพิ่มโอกาสของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่องในตลาดซึ่งบริษัทฯ เชื่อว่า จะเป็นตลาดที่จะ สร้างโอกาสทางธุรกิจให้กับบริษัทฯ โดยมุ่งเน้น ที่ภูมิภาค BRIC และภูมิภาคตะวันออกกลาง โดยบริษัทฯ ตั้งใจที่จ แสวงหาโอกาสในภูมิภาคดังกล่าว รวมทั้งภูมิภาคยุโรปเพื่อเข้าลงทุนหรือเข้าซื้อทรัพย์สินที่มีมูลค่าการลงทุนสูง และเป็น ทรัพย์สินรุ่นใหม่ล่าสุด รวมถึงโรงงานผลิต PET ที่มีกำลังการผลิตประมาณ 150,000 ตันต่อปี ซึ่งจะเป็นส่วนช่วยให้ บริษัทฯ มีสถานะทางด้านต้นทุนที่สามารถแข่งขันได้อย่างยั่งยืน และมีความตั้งใจที่จะเข้าซื้อทรัพย์สินที่เพิ่มมูลค่า และ ขยายธุรกิจและกำลังการผลิตของโรงงานที่มีอยู่ในปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ คาดว่าจะเกิดการรวมตัวในแนวตั้ง (Vertical Integration) ในบางภูมิภาค ไม่ว่าจะเป็นการควบรวม กิจ การที่ บริ ษัท ฯ เป็น เจ้ ของ การตั้ งโรงงานในสถานที่ เดี ยวกับ โรงงานที่ บริ ษั ทฯ เป็น เจ้ ของ หรื อการควบรวมแบบ เสมื อ นกั บ การตั้ ง โรงงานติ ด กั บ โรงงานของผู้ จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ หลั ก เพื่ อ เสริ ม สร้ งประสิ ท ธิ ภ พด้ นการขนส่ ง และการ ดำเนินงาน ความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนวัตถุดิบ และเพื่อเป็นประกันในการจัดหาวัตถุดิบได้อย่างเพียงพอ ทั้งนี้ การควบรวมกิจการที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของเข้าด้วยกัน ยังเป็นการช่วยส่งเสริมความสามารถของบริษัทฯ ในการที่จะไม่ต้อง พึ่งพาการจัดหาวัต ถุดิบที่ อาจมีความเปลี่ย นแปลงและไม่ แน่น อน (Sector Cyclicality) และช่วยปรับปรุงให้มีก ระแส รายรับ ที่มี คุณ ภาพและคาดการณ์ไ ด้แ ม่นยำขึ้ น กลยุท ธ์ขั้ นต่ อไปของบริ ษัท ฯ จะมุ่ งเน้น ที่ก รเพิ่ มกำลั งการผลิ ต PTA เพื่อให้สอดคล้องกับกำลังการผลิตโพลีเอสเตอร์ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมปลายน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตลาดที่บริษัทฯ ให้ ความสำคัญ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ มี แ ผนที่ จ ยกระดั บ ความพยายามในการทำ การตลาดของบริ ษั ท ฯ อย่ งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ กระจายฐานลูกค้าในสายผลิตภัณฑ์ PTA และ PET ของบริษัทฯ ไปสู่ภูมิภาคต่างๆ ที่หลากหลายยิ่งขึ้น สำหรับกลุ่มธุรกิจ เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และ PET นั้น นอกเหนือจากการขยายตลาดสู่ภูมิภาคต่างๆ อย่างต่อเนื่องแล้ว บริษัทฯ ยังมีค วามตั้งใจที่จะสร้า งความหลากหลายของฐานลูก ค้าของบริษัทฯ โดยการสร้า งความหลากหลายของการใช้งาน ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้าย ส่วนในธุรกิจเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ นอกเหนือจากการดำรงความสามารถในการแข่งขัน ด้านราคาและต้นทุนการผลิตแล้ว บริษัทฯ ยังมุ่งที่จะสร้างความแตกต่างโดยผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มซึ่งทำให้บริษัท ฯ จำเป็นที่จะต้องคงไว้ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเพื่อที่จะเป็นผู้ผลิตที่ให้บริการแบบรวมจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One-Stop Shop) เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังต้องรักษาความยืดหยุ่นในกระบวนการผลิตเพื่ อ สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้าภายในระยะเวลาอันสั้น ในฐานะที่เป็นผู้นำในอุตสาหกรรมพลาสติกโพลีเอสเตอร์รายหนึ่ง บริษัทฯ มีความตั้งใจที่จะให้ความสำคัญกับ การพั ฒ นาความสามารถในการวิ จั ย และพั ฒ นา ไม่ ว่ จะโดยการพั ฒ นาโรงงานของบริ ษั ท ฯ เอง หรื อ โดยการสร้ ง ความสัมพันธ์ที่สำคัญกับผู้ประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมรายอื่น นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ค วามประสงค์ ที่ จ ขยายกำ ลั งการผลิ ต ของโรงงานบรรจุ ภั ณ ฑ์ ข อง บจ. เพ็ ท ฟอร์ ม (ไทยแลนด์) โดยจะซื้อเครื่องจักรผลิตพลาสติกขึ้นรูปขวดจำนวน 2 เครื่อง เครื่องเป่าขวดพลาสติกจำนวน 1 เครื่อง และ เครื่ อ งผลิ ต ฝาขวดเกลี ย วจำ นวน 2 เครื่ อ ง ซึ่ ง มี ต้ น ทุ น รวมประมาณ 11.5 ล้ นดอลล่ ร์ ส หรั ฐ ฯ โดยบริ ษั ท ฯ คาดว่ เครื่ อ งจั ก รใหม่ ดั ง กล่ วจะเริ่ ม ดำ เนิ น งานเพื่ อ การพาณิ ช ย์ ไ ด้ ใ นไตรมาสที่ ส องของปี 2553 ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ค วาม ประสงค์ที่จะลดการจำกัดกำลังการผลิต(De-Bottleneck) ของสายการผลิตโพลีเอสเตอร์ ที่โรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ ของ บมจ. อิ น โดรามา โพลี เ อสเตอร์ อิน ดั ส ตรี้ ส์ มาบตาพุ ด เพื่ อ ผลิ ต เส้น ใยโพลี เอสเตอร์ สัง เคราะห์ สั้น (Polyester Staple Fibers) และติดตั้งเครื่องจักรเพิ่มเติมเพื่อผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ชนิดพิเศษ (Ultra-Fine Polyester Fibers - FDY) โดยบริ ษั ท ฯ ประมาณการต้ น ทุ น รวมของโครงการเหล่ นี้ อ ยู่ ที่ ป ระมาณ 5.1 ล้ นดอลล่ ร์ ส หรั ฐ ฯ และคาดว่ (ยังมีต่อ)