Reports to the Stock Exchange
คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ไตรมาสที่ 1/2555
คำอธิบายและวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
ที่ IVL007/05/2012
11 พฤษภาคม 2555
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
เรื่อง ขอนำส่งงบการเงินสอบทานสำหรับไตรมาสที่ 1 ของปี 2555 ของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด
(มหาชน) และคำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
ทางฝ่ายจัดการของบริษัท ขอนำส่งเอกสารดังต่อไปนี้
1. สำเนางบการเงินสอบทานรวมและงบการเงินสอบทานเฉพาะบริษัท สำหรับไตรมาสที่ 1 ของปี 2555
(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
2. คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ สำหรับผลการดำเนินงานประจำไตรมาสที่ 1 ของปี 2555
(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
3. รายงานสรุปผลการดำเนินงาน แบบฟอร์ม 45-3 สำหรับผลการดำเนินงานประจำไตรมาสที่ 1 ของปี 2555
(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายอาลก โลเฮีย)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ
เลขานุการบริษัท
โทรศัพท์: +66 (0) 2661-6661
โทรสาร: +66 (0) 2661-6664
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1 ปี 2555
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน) หรือ IVL รายงานรายได้รวมสำหรับไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เท่ากับ
1,696 ล้านเหรียญสหรัฐ กำไรรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (EBITDA)
เท่ากับ 98 ล้านเหรียญสหรัฐ (3,035 ล้านบาท) กำไรสุทธิรวมหลังภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
(รวมรายการพิเศษ) เท่ากับ 55 ล้านเหรียญสหรัฐ (1,691 ล้านบาท)
และอัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทสำหรับผลการดำเนินงานสิบสองเดือนล่าสุด เท่ากับ ร้อยละ 9
ฐานะทางการเงินรวมยังคงแข็งแกร่ง และณ วันที่ 31 มีนาคม 2555
อัตราหนี้สินสุทธิต่อเงินทุนของบริษัทอยู่ที่ ร้อยละ 45 และมีสภาพคล่องสูงถึง 1,020 ล้านเหรียญสหรัฐ
ซึ่งรวมถึงเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และวงเงินสินเชื่อที่ยังมิได้เบิกใช้
ในต้นปี 2555 นี้ ภาพรวมบริษัทมีการปรับตัวขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาสที่ 4 ปี 2554
ซึ่งถือว่าเป็นไตรมาสที่มีผลประกอบการต่ำสุดที่มีมาของบริษัท ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 13
เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2554 จาก 1.05 ล้านตันเป็น 1.19 ล้านตัน
ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของกำไรรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย
(Consolidated EBITDA) และ กำไรหลักรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย
(Core EBITDA) ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 Consolidated EBITDA ของบริษัทฯ เท่ากับ 98 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 129 จาก 43 ล้านเหรียญสหรัฐ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 นี้
บริษัทมีกำไรในสินค้าคงเหลือเท่ากับ 14 ล้านเหรียญสหรัฐ ส่งผลให้ Core EBITDA เท่ากับ 84
ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จาก 79 ล้านเหรียญสหรัฐ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 Core EBITDA
ต่อตันในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เท่ากับ 71 เหรียญสหรัฐต่อตัน เมื่อเทียบกับ 75
เหรียญสหรัฐต่อตันในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 Core EBITDA ลดลง 4
เหรียญสหรัฐต่อตันสาเหตุหลักเนื่องมาจากอัตรากำไรของ PTA ในทวีปเอเชียที่ต่ำสุดในประวัติการณ์
อย่างไรก็ตามจำนวน EBITDA รวมยังคงสูงขึ้นเนื่องมาจากปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้นและกำไรในสินค้าคงเหลือ
ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ
ล้านเหรียญสหรัฐ
ไตรมาส
1/2555
ไตรมาส
4/2554 ไตรมาส
1/2554 สิบสองเดือน สิ้นสุด
ไตรมาส 1/2555 สิบสองเดือนสิ้นสุด
ไตรมาส
1/2554
อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลล่าร์สหรัฐ 30.84 31.69 30.30 30.84 30.30
อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อยูโร 41.17 41.03 42.86 41.17 42.86
*รายได้จากการขายรวม 1,696 1,394 1,328 6,472 3,643
PET 1,122 975 869 4,505 2,262
โพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ 349 196 189 987 512
PTA 228 231 269 998 869
กำไรรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (EBITDA) 98 43 215 441 557
PET 64 33 117 300 303
โพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ 22 15 48 88 104
PTA 8 0 55 52 155
*กำไรหลักรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (Core EBITDA) 84 79 157 479
477
PET 58 55 84 335 257
โพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ 20 23 38 90 89
PTA 2 6 42 54 132
กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 55 (51) 365 203 646
รายจ่ายฝ่ายทุน (CAPEX) 267 177 713 587 898
หนี้สินสุทธิ 1,602 1,377 1,088 1,602 1,088
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุน 0.8 0.7 0.5 0.8 0.5
อัตราความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย 5.3 2.7 16.4 6.6 12.7
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 11% (11%) 95% 10% 47%
อัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัท 7% 1% 29% 9% 19%
กำไรต่อหุ้น (บาท) 0.35 (0.30) 2.45 1.29 4.59
*อ้างถึงข้อสังเกต1 หน้า 12 ข้อมูลทางการเงินรวมภายหลังการตัดรายการระหว่างกันในบริษัทในกลุ่ม
(หรือระหว่างกลุ่มธุรกิจ)
ผลประกอบการไตรมาสที่ 1 ปี 2555 และไตรมาสที่ 4 ปี 2554
ไม่รวมถีงผลการดำเนินงานของโรงงานที่จังหวัดลพบุรี (ซึ่งมีรายได้สิบสองเดือนสิ้นสุดไตรมาสที่ 3 ปี 2554
เท่ากับ 325 ล้านเหรียญสหรัฐ) ซึ่งหยุดดำเนินงานในสองไตรมาสดังกล่าว
และเริ่มเปิดดำเนินงานบางส่วนในเดือนพฤษภาคม 2555 และคาดว่าจะเปิดดำเนินงานเต็มรูปแบบได้ในปี 2556
การเข้าซื้อล่าสุดในกิจการโรงงานผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ Fiber Visions ในอเมริกา ยุโรป และประเทศจีน
ในเดือนมกราคม 2555 ทำให้บริษัทฯ
กลายเป็นผู้นำในธุรกิจผลิตเส้นใยแบบพิเศษสำหรับผลิตภัณฑ์ด้านสุขอนามัยที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว
และการเข้าซื้อโรงงานรีไซเคิล PET และเส้นใยไฟเบอร์ของ Wellman International ในยุโรปในเดือนพฤศจิกายน
2554 ทำให้บริษัทกลายเป็นผู้นำในตลาดยุโรป ที่มีการผลิตครบวงจรภายในห่วงโซ่โพลีเอสเตอร์ นอกจากนี้
อัตราการใช้กำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในโรงงานอื่นของบริษัท
ได้ส่งผลให้ปริมาณการผลิตทั้งหมดเพิ่มขึ้นเป็น 1.2 ล้านตันในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ
13 จากไตรมาสที่ 4 ปี 2554 และร้อยละ 24 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2554
หมายเหตุ : รายได้ทวีปยุโรป รวมรายได้ของทวีปอื่นๆที่เหลือ
แผนภาพข้างบนแสดงปรียบเทียบปริมาณการผลิตเละรายได้รายไตรมาส
ปริมาณผลิตและรายได้ในยุโรปและอเมริกาเหนือฟื้นตัวขึ้นจากไตรมาสที่ 4 ปี 2554
ปริมาณการผลิตในทวีปเอเชียยังคงน้อยจากการปิดดำเนินงานของโรงงานที่จังหวัดลพบุรี
และการปิดปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในโรงงานในประเทศไทยและอินโดนีเซีย นอกจากนี้
ยังมีผลกระทบจากธุรกิจ PTA ซึ่งมีอุปทานส่วนเกินและผลกระทบทางลบจากประเทศจีน
บริษัทฯรายงาน Consolidated EBITDA ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เท่ากับ 98 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ
129 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2554 และลดลงร้อยละ 54 เมื่อเทียบกับ ไตรมาสที่ 1 ปี 2554 ในขณะที่
Core EBITDA (ภายหลังปรับปรุงผลกระทบจากกำไรขาดทุนในสินค้าคงเหลือ) ในไตรมาสที่1 ปี 2555 เท่ากับ 84
ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2554 และลดลงร้อยละ 47
เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2554 ขาดทุนในสินค้าคงเหลือจากราคาที่ลดลงในไตรมาสที่ 4 ปี 2554
และกำไรในสินค้าคงเหลือจากราคาที่เพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ทำให้ Core EBITDA
ภายหลังปรับปรุงเพิ่มขึ้นไม่มากนัก ตารางข้างล่างนี้แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ Consolidated EBITDA และ
Core EBITDA
ล้านเหรียญสหรัฐ ยกเว้นข้อมูลต่อตัน
ไตรมาส 1/2555
ไตรมาส 4/2554
ไตรมาส 1/2554 สิบสองเดือนสิ้นสุด
ไตรมาส 1/2555 สิบสองเดือนสิ้นสุด
ไตรมาส 1/2554
Consolidated EBITDA 98 43 215 441 557
(กำไร)ขาดทุนในสินค้าคงเหลือ (14) 36 (57) 37 (80)
Core EBITDA 84 79 157 479 477
Reported EBITDA ต่อตัน $82 $41 $225 $96 $165
Core EBITDA ต่อตัน $71 $75 $165 $104 $141
กำไรสุทธิหลังภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเท่ากับ 55 ล้านเหรียญสหรัฐ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555
เทียบกับขาดทุนสุทธิ 51 ล้านเหรียญสหรัฐในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 และลดลงคิดเป็นร้อยละ 85
เมื่อเทียบกับกำไรสุทธิ 365 ล้านเหรียญสหรัฐในไตรมาสที่ 1 ปี 2554
การเจริญเติบโตในทุกภูมิภาคทั่วโลก
บริษัทยังคงเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดในทุกภูมิภาคทั่วโลก และมีรายได้รวมสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 1.7
พันล้านเหรียญสหรัฐในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 21 จากไตรมาสที่ 4 ปี 2554
รายได้สิบสองเดือนสิ้นสุด ไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เท่ากับ 6.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 77
จากสิบสองเดือนสิ้นสุด ไตรมาสที่ 1 ปี 2554
อัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทตามภูมิภาค (ROCE by geographic)
อัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ได้มีการฟื้นตัวเต็มรูปแบบในภูมิภาคยุโรป
และฟื้นตัวเล็กน้อยในอเมริกาเหนือและเอเชีย
ขาดทุนจากการหยุดดำเนินงานจากสถานการณ์น้ำท่วมในจังหวัดลพบุรี
และการลดลงอย่างมากในอัตราส่วนต่างผลิตภัณฑ์ PTA ในเอเชีย
ส่งผลกระทบอย่างมากต่ออัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทในภูมิภาคเอเชีย
ฝ่ายบริหารคาดว่าอัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนจะดีขึ้นภายหลังการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในช่วงครึ่งปีแ
รกของปี 2555 ในประเทศไทยและอินโดนีเซีย และการขยายกำลังการผลิตที่ประเทศจีนเป็น 500,000 ตันต่อปี
การปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในโรงงาน Invista และ Fibervisions ที่บริษัทเข้าซื้อมา
และการรวมตัวของธุรกิจ EO/EG ในสหรัฐอเมริกา ทั้งหมดนี้
คาดว่าจะช่วยนำอัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทกลับสู่อัตราสูงอย่างที่เป็นมาในอดีต
แนวโน้มธุรกิจ
การเติบโตอย่างต่อเนื่องของธุรกิจ แม้ในภาวะตลาดโลกอันผันผวน แสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งของ IVL
ธุรกิจของบริษัทเปรียบเสมือนทางเชื่อมสู่ผู้บริโภค บริษัทไม่ใช่ธุรกิจอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น
ซึ่งจะได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยในสหรัฐอเมริกา ยุโรป หรือกลุ่มทวีปอื่น
จากความต้องการของผู้บริโภคที่ลดลงในสินค้าทั่วไป
ผลิตภัณฑ์ของบริษัทเป็นสินค้าพื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวัน
ซึ่งยังคงมีความต้องการอย่างต่อเนื่องแม้ในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ
ผลิตภัณฑ์ของบริษัทสามารถพบเห็นได้ทุกที่และเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวัน
บริษัทอยู่ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ ซึ่งมีการรวมตัวกับวัตถุดิบหลักอย่าง PTA และ MEG
การรวมตัวกันนี้ทำให้บริษัทเป็นที่ไว้วางใจของผู้บริโภค จึงได้รับส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น
เนื่องจากส่วนแบ่งการตลาดที่เพิ่มขึ้นและการแผ่ขยายกิจการไปทั่วโลก
ทำให้บริษัทเข้าสู่การรวมตัวกับธุรกิจต้นน้ำโดยเริ่มจาก PTA และล่าสุด MEG จากการเข้าซื้อกิจการ Old
World ในเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
ธุรกิจของบริษัทฯที่มีการกระจายอยู่ทั่วโลก และมีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
และการควบรวมภายในห่วงโซ่โพลีเอสเตอร์ ทำให้เกิดการป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ
อีกทั้งบริษัทฯสามารถรักษาผลดำเนินงานให้อยู่ในระดับสูงกว่ามาตรฐาน
ฝ่ายบริหารได้ตระหนักถึงการรวมตัวของกิจการที่บริษัทได้เข้าซื้อ
เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มและการนำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆจากนวัตกรรมที่บริษัทมี
การเสร็จสิ้นเข้าซื้อธุรกิจ Old World ในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนเมษายน ปี 2555
เป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ที่จะผลักดันให้เป็นไปตามแผนการควบรวมภายในห่วงโซ่มูลค่าโพลีเอสเตอร์
สู่วัตถุดิบหลักอย่าง Mono Ethylene Glycol (MEG) และ Purified Ethylene Oxide (PEO)
โรงงานตั้งอยู่ในศูนย์กลางของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ใน Clear Lake มลรัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ได้เปรียบในการจัดหาวัตถุดิบและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ MEG
เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต PET โพลีเมอร์และเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์
นอกจากนี้ยังเป็นก้าวไปสู่การเติบโตในผลิตภัณฑ์ใหม่ๆซึ่งมีอัตรากำไรที่สูงขึ้น (เป็นโรงงานผลิต EO/MEG
แรกของ IVL) Old World มีฐานการผลิต ฐานลูกค้า เครือข่ายผู้จัดหาสินค้าและทีมบริหารที่มีประสบการณ์
การเข้าซื้อกิจการดังกล่าว คาดว่าจะทำให้ IVL มีผลกำไรและสร้างความมั่นคงในธุรกิจในระยะยาว นอกจากนี้
ยังได้รับการสนับสนุนโดยแนวโน้มธุรกิจในทางบวกของ EO/MEG ในอเมริกาเหนือ
สำหรับการเติบโตในด้านความต้องการ อัตราการใช้กำลังการผลิต และอัตรากำไร อเมริกาเหนือมีอุปทานของ
Ethylene
จากผู้จำหน่ายหลายรายโดยการขนส่งผ่านท่อและมีแหล่งวัตถุดิบที่เป็นประโยชน์จากก๊าซธรรมชาติและก๊าซจากชั้น
หิน Old World จึงสร้างโอกาสในการเกื้อหนุนทางธุรกิจ (Synergies)
และเสริมสร้างการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพของ IVL ในการผลิต PET โพลีเมอร์ส และเส้นใย
เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ซึ่งมีกำลังการผลิตประมาณ 1.7 ล้านตันในอเมริกาเหนือ
อัตรากำไร PTA ในทวีปเอเชีย คาดว่ายังคงอยู่ในระดับที่ต่ำตลอดทั้งปี 2555
แต่โรงงานของบริษัทยังคงรักษาอัตราการใช้กำลังการผลิตในระดับสูง และได้รับประโยชน์จากการเพิ่มการบริโภค
PTA ภายในกลุ่มบริษัท ที่สูงกว่าร้อยละ 50 โดยกลุ่มธุรกิจ PET โพลีเมอร์ส
และเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์
ฝ่ายบริหารจึงมุ่งเป้าไปที่การรวมตัวและการเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานของธุรกิจปัจจุบัน
และการขยายกำลังการผลิตในโรงงานหลายแห่งที่กำลังดำเนินอยู่ เพื่อบรรลุผลประกอบการที่เพิ่มขึ้นของ IVL
ในบทวิเคราะห์แต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์ได้อธิบายถึงการดำเนินการในปี 2555
ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบจากอัตรากำไรในธุรกิจ PTA ในทวีปเอเชียที่ลดลง
เนื่องจากลักษณะของโพลีเอสเตอร์ที่จัดหาง่าย และเป็นสินค้าอุปโภคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน (อาหาร
เครื่องดื่ม และเสื้อผ้า) บริษัทฯคาดว่าจะได้รับผลดีจากการที่บริษัทมีโรงงานอยู่ทั่วภูมิภาคหลักของโลก
ในฐานะผู้นำของตลาด และการควบรวมในอุตสาหกรรม การลงทุนในนวัตกรรม
หรือสินค้าเพิ่มมูลค่าจะทำให้อัตรากำไรโดยรวมเพิ่มมากขึ้น และจะเป็นประโยชน์ต่อไปอีกในภายภาคหน้า
บริษัทคาดว่าในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 จะมีรายได้และกำไรที่เพิ่มขึ้น
จากการเริ่มเปิดดำเนินงานของโรงงานที่จังหวัดลพบุรีหลังจากเหตุการณ์น้ำท่วม และจากกิจการ Old World
ที่เข้าซื้อเสร็จสิ้นแล้ว ทำให้มีการรวมผลการดำเนินงานและกำไรในไตรมาสต่อๆมา การเข้าซื้อกิจการ PET
ในอินโดนีเซียคาดว่าจะเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 2 ปี 2555
และคาดว่าจะสร้างกำไรได้ทันทีในผลการดำเนินงานปีแรก
โครงการที่ประกาศถึง ไตรมาสที่ 1 ปี 2555
โครงการที่ได้รับการอนุมัติตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี 2555 จนถึงปัจจุบัน
ในเดือนมีนาคม ปี 2555 บริษัทประกาศซื้อกิจการผลิตเม็ดพลาสติก PET ในอัตราร้อยละ 100 ของ PT Polypet
Karyapersada ซึ่งโรงงานตั้งอยู่ที่เมือง Cilegon ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีกำลังการผลิต 100,800 ตันต่อปี
บริษัทได้ลงนามในสัญญาการซื้อทรัพย์สินกับผู้ขายเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555 PT Polypet Karyapersada
ตั้งอยู่ติดกับบริษัทร่วมค้าของบริษัท คือ PT Indorama Petrochemicals (ชื่อเดิม PT Polyprima
Karyesreska) ซึ่งเป็นผู้ผลิต PTA และทำให้บริษัทมีโอกาสในการรวมและขยายฐานธุรกิจที่มั่นคงในตลาด PET
ประเทศอินโดนีเซียต่อไป ทั้งนี้บริษัทจะจัดตั้งบริษัทย่อยทางอ้อมแห่งใหม่ คือ PT. Indorama Polypet
Indonesia เพื่อเข้าถือทรัพย์สินดังกล่าวข้างต้น
โครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
เดือนมกราคม 2555 ฝ่ายบริหารประกาศแผนการปรับโครงสร้าง Trevira GmbH ในประเทศเยอรมัน
เพื่อเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพด้านการผลิตและด้านการตลาดของบริษัทร่วมค้า Trevira GmbH
ฝ่ายบริหารได้ทำการปรับโครงสร้างและผนึกรวมสถานที่ตั้งในเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญทั้งหมดของแหล่งการผลิตเส้นใ
ยเส้นด้าย โดยการย้ายฐานการผลิตจากเมือง Zielona Gira ในประเทศโปแลนด์ ไปที่เมือง Gubenในประเทศเยอรมัน
ที่ซึ่ง Trevira มีฐานการผลิตอยู่แล้ว
การปรับโครงสร้างดังกล่าวคาดว่าจะสามารถทำให้ปรับลดโครงสร้างต้นทุนของกิจการและเป็นการตอบสนองความต้องกา
รอย่างมีประสิทธิภาพให้แก่ลูกค้าได้โดยคาดว่าจะดำเนินการย้ายฐานการผลิตเสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2555
เดือนสิงหาคม 2554 การลงทุนในการผลิตเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์รีไซเคิล มีกำลังการผลิตอยู่ที่
28,500 ตันต่อปี ภายใต้โครงการนี้ ขวด PET
ที่ถูกทิ้งหรือใช้แล้วจะถูกรวบรวมและรีไซเคิลไปเป็นผลิตภัณฑ์พลาสติกคุณภาพสูงเพื่อใช้เป็นบรรจุภัณฑ์สำหร
บเครื่องดื่ม เส้นใยพิเศษเพื่อใช้ผลิตเครื่องแต่งกายภายใต้ตราสินค้าที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
และเส้นด้ายสีสำหรับยานยนต์และเส้นด้ายที่ไม่ผ่านการทอ บริษัทฯได้ออกตราสินค้า ECORAMA
สำหรับผลิตภัณฑ์เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์รีไซเคิล และเพิ่งได้รับรางวัลใบประกาศ Green Label
จากสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย โครงการนี้จะตั้งอยู่ที่จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย
ภายในบริเวณเดียวกับโรงงานของอินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส์ เงินลงทุนทั้งหมดคาดว่าประมาณ 22.4
ล้านเหรียญสหรัฐ คาดว่าจะสามารถเปิดดำเนินงานได้ในปี 2556
เดือนสิงหาคม 2554 การลงทุนในโครงการเส้นใยผสมสำหรับสินค้าอนามัย มีกำลังการผลิต 16,000 ตันต่อปี
บริษัทฯได้เข้าสู่ตลาดการใช้วัตถุดิบที่ไม่ผ่านการทอ และเพิ่งเข้าซื้อกิจการผลิตเส้นใยผสมในยุโรป
Trevira เพื่อการผลิตสำหรับธุรกิจอนามัยเป็นหลัก
สินค้าอนามัยใช้เทคโนโลยีชั้นสูงที่ต้องผ่านกระบวนการผลิตชั้นนำ และใกล้ชิดกับผู้บริโภค
เพื่อที่จะสามารถระบุความต้องการในผลิตภัณฑ์ที่ใช้สัมผัสกับผิวหนัง เช่น ผ้าอ้อมเด็ก
ผลิตภัณฑ์สุขอนามัยของผู้หญิง และอื่นๆ
โครงการใหม่นี้จะทำการผลิตส่วนประกอบหลักที่ใช้ในการผลิตเส้นใยผสมสำหรับสินค้าอนามัย
โดยใช้เทคโนโลยีร่วมกับ Toyobo ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นบริษัทที่มีชื่อเสียงในสาขานี้
โครงการนี้ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง ประเทศไทย ใช้เงินลงทุนทั้งหมดประมาณ 21.2 ล้านเหรียญสหรัฐ
คาดว่าจะสามารถเปิดดำเนินงานได้ในไตรมาสที่ 2 ปี 2555
เดือนสิงหาคม 2554 การลงทุนในเส้นใยผสมคุณภาพสูง (FINNE) ที่โรงงาน IVI ที่บริษัทฯเพิ่งเข้าซื้อกิจการมา
(เดิมชื่อ SK Keris) ที่เมือง Tangerang ประเทศอินโดนีเซีย ด้วยกำลังการผลิต 16,000 ตันต่อปี IVI
มีเทคโนโลยีเฉพาะในการผลิตเส้นใยผสม (FINNE) โดยผ่านเพียงหนึ่งกระบวนการผลิต
บริษัทฯจะได้ข้อได้เปรียบด้านการแข่งขันกว่าบริษัทอื่นที่ยังต้องผ่านสองกระบวนการผลิต
และจะมีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่งในกลุ่มธุรกิจนี้
ผลิตภัณฑ์นี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากสำหรับการผลิตเสื้อผ้าชั้นนอก และผ้าม่าน
ซี่งยังมีคู่แข่งขันน้อยรายที่ผลิตได้ ทำให้บริษัทฯมีศักยภาพในการเติบโตที่สูง
โครงการนี้คาดว่าจะใช้เงินลงทุนทั้งหมดประมาณ 38.0 ล้านเหรียญสหรัฐ
คาดว่าจะสามารถเปิดดำเนินงานได้ในไตรมาสที่ 1 ปี 2556
เดือนพฤษภาคม 2554 ที่ประชุมกรรมการบริษัท ได้มีมติให้ขยายกำลังการผลิต PTA ที่ Indorama Holdings
Rotterdam BV โดยเพิ่มสายการผลิตใหม่ที่มีกำลังการผลิต 250,000 ตันต่อปี ทำให้โรงงานมีกำลังการผลิตรวม
600,000 ตันต่อปี การขยายกำลังการผลิตนี้คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2556 จะทำให้เกิดข้อได้เปรียบด้านต้นทุน
และส่งเสริมการควบรวม PTA ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต PET ในทวีปยุโรป ทั้งนี้
บริษัทฯจะมีกำลังการผลิต PTA ในยุโรปเพิ่มขึ้นเป็น 811,000 ตันต่อปี
ในเดือนเมษายน 2554 บริษัทประกาศการขยายโรงงาน การผลิต PET ในทวีปยุโรป ด้วยกำลังการผลิต 220,000
ตันต่อปี การขยายกำลังการผลิตดังกล่าวอยู่ภายในโรงงานผลิต PET
เดิมที่มีอยู่แล้วในประเทศโปแลนด์ภายใต้บริษัท Indorama Polymers Poland S.p.z.o.o
ซึ่งจะทำให้เกิดการประหยัดต่อขนาด และการใช้ท่อส่ง PTA ร่วมกับบุคคลภายนอกที่เป็นผู้ผลิต PTA
การขยายกำลังการผลิตคาดว่าจะเสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2555 หรือต้นปี 2556
และจะทำให้เกิดข้อได้เปรียบด้านต้นทุนและเพิ่มกำลังการผลิตทั้งหมดในประเทศโปแลนด์เป็น 370,000 ตันต่อปี
และบริษัทฯจะมีกำลังการผลิต PET ในทวีปยุโรปรวมเท่ากับ 1.5 ล้านตันต่อปี
ในเดือนมีนาคม 2554 บริษัทฯประกาศการก่อตั้งโรงงานผลิต Continuous Polymerization resin ที่กำลังการผลิต
300,000 ตันต่อปี ในเมือง Purwakarta ประเทศอินโดนีเซีย ผลผลิตที่ได้จากโรงงานจะกระจายไปสู่ตลาดเส้นใย
เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และชิป ในประเทศอินโดนีเซีย และภูมิภาคเอเชีย ที่มีความต้องการสูงขึ้น พีที
อินโดรามา ปิโตรเคม อินโดนีเซีย
ซึ่งเป็นบริษัทย่อยใหม่ของบริษัทฯได้ถูกจัดตั้งขึ้นที่ประเทศอินโดนีเซียสำหรับโครงการ Greenfield นี้
โรงงานดังกล่าวคาดว่าจะเริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์ได้ในไตรมาสที่ 2 ปี 2556
ในเดือนสิงหาคม 2553 บริษัทอนุมัติให้จัดตั้งโรงงานผลิต PET ใหม่โดยบริษัทย่อย อินโดรามา โพลีเมอร์ส
จำกัด (มหาชน) หรือ IRP ซึ่ง IRP จะ ทำการจัดตั้งบริษัทย่อยเพื่อลงทุนในโรงงานผลิต PET แบบ Solid state
polymerization "SSP" ที่มีกำลังการผลิต 84, 000 ตันต่อปี ที่ Port Harcourt ประเทศไนจีเรีย
การลงทุนครั้งนี้ ถือเป็นการลงทุนครั้งแรกของบริษัทในแอฟริกา ที่ซึ่งตลาดมีความต้องการถึง 450,000
ตันต่อปี ในปัจจุบันมีเพียงผู้ผลิต PET รายเดียวเท่านั้นในแอฟริกา
โรงงานดังกล่าวคาดว่าจะแล้วเสร็จและเริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2555
และคาดว่าจะเพิ่มมูลค่ากำไรแก่บริษัท
ในเดือนพฤษภาคม 2553 บริษัทอนุมัติการเพิ่มสายการผลิตเม็ดพลาสติก PET ภายในบริเวณโรงงาน Indorama
Polymers Rotterdam BV ซึ่งจะเพิ่มกำลังการผลิตเม็ดพลาสติก PET อีก 187, 000 ตัน
ทำให้กำลังการผลิตทั้งหมดของโรงงานเป็น 390,000 ตัน
การขยายโรงงานดังกล่าวคาดว่าจะแล้วเสร็จและเริ่มดำเนินการผลิตได้ในไตรมาสที่ 3 ปี 2555
และจะผลิตได้เต็มกำลังในปี 2556การขยายโรงงานครั้งนี้ทำให้เกิดการว่าจ้างงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้
ยังสามารถเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดของบริษัทในยุโรป และเพิ่มการบริโภค PTA ภายในกลุ่ม จากโรงงานผลิต PTA ใน
Rotterdam และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากบริษัทในกลุ่มที่ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน
อีกทั้งยังช่วยในเรื่องของการประหยัดต่อขนาดด้วย การขยายโรงงานนี้คาดว่าจะเพิ่มมูลค่ากำไรแก่บริษัท
ภายหลังเสร็จสิ้นแผนการเข้าซื้อและการขยายกิจการทั้งหมด
บริษัทจะมีข้อได้เปรียบในการบริหารกิจการในระดับภูมิภาค ทำให้กำลังการผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 8.6
ล้านตันต่อปี (รวมกิจการร่วมทุน Ottana Polimeri, Trevira และ Polyprima ซึ่งจะได้รับเป็นส่วนแบ่งกำไร)
บริษัทจะกลายเป็นผู้นำตลาดทั้งในประเทศไทย อเมริกาเหนือ และยุโรป
หน่วย: ล้านตันต่อปี
เพิ่มขึ้น PET PTA เส้นใยและเส้นด้าย Glycol รวม
กำลังการผลิตสิ้นปี 2554
ประเทศไทย 0.281 1.373 0.290 1.944
ประเทศอินโดนีเซีย 0.088 0.110 0.198
ประเทศจีน 0.406 0.406
ทวีปยุโรป 0.921 0.561 0.273 1.755
ทวีปตะวันออกกลางและแอฟริกา -
ทวีปอเมริกาเหนือ 1.555 0.071 1.626
รวม 3.251 1.934 0.744 5.929
*กำลังการผลิตของกิจการร่วมค้า 0.161 0.184 0.120 0.465
กำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในปี 2555
ทวีปอเมริกาเหนือ Old World 0.632 0.632
ทวีปยุโรป IRP-Rotterdam 0.031 0.031
ประเทศอินโดนีเซีย Polypet 0.101 0.101
ทวีปตะวันออกกลางและแอฟริกา Nigeria-Greenfield 0.084 0.084
ทวีปอเมริกาเหนือ Fibervision 0.221 0.221
ประเทศอินโดนีเซีย* Polyprima 0.500 0.500
ประเทศไทย TPT-Debottl. 0.011 0.011
ประเทศจีน China-Exp. 0.116 0.116
ประเทศไทย IPI-BICO/CP 0.021 0.021
รวม 0.332 0.511 0.242 0.632 1.717
*กำลังการผลิตของกิจการร่วมค้า 0.500 0.500
กำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในปี 2556
ทวีปยุโรป Rotterdam-Exp. 0.156 0.156
ทวีปยุโรป Poland-Exp. 0.220 0.220
ประเทศอินโดนีเซีย CP4-Greenfield 0.300 0.300
ประเทศอินโดนีเซีย Finne-Exp. 0.016 0.016
ประเทศไทย IPI-Recycling 0.028 0.028
ทวีปยุโรป Rotterdam-Exp. 0.250 0.250
รวม 0.376 0.250 0.344 0.970
กำลังการผลิตสิ้นปี 2556
ประเทศไทย 0.281 1.384 0.339 2.004
ประเทศอินโดนีเซีย* 0.189 0.500 0.426 1.115
ประเทศจีน 0.522 0.522
ทวีปยุโรป* 1.328 0.811 0.273 2.412
ทวีปตะวันออกกลางและแอฟริกา 0.084 0.084
ทวีปอเมริกาเหนือ 1.555 0.292 0.632 2.479
รวม 3.959 2.695 1.330 0.632 8.616
*รวมกำลังการผลิตของกิจการร่วมค้า 0.161 0.684 0.120 0.965
*กำลังการผลิต ปริมาณการผลิต ปริมาณการขาย และอัตราการใช้กำลังการผลิต
ที่รายงานไปนั้นรวมเฉพาะผลประกอบการของกิจการที่รวมอยู่ในงบการเงินรวม (Consolidated)
ไม่รวมถึงผลประกอบการของกิจการที่บันทึกในรูปของเป็นส่วนแบ่งกำไรจากการลงทุน (Equity Income)
ข้อสังเกต :
ข้อมูลทางการเงินรวมภายหลังการตัดรายการระหว่างกันในบริษัทในกลุ่ม (หรือระหว่างกลุ่มธุรกิจ)
ทำให้อาจไม่เท่ากับยอดรวมของแต่ละส่วนธุรกิจ
*กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสำหรับไตรมาสที่ 1 ปี 2555
ได้รวมกำไรพิเศษสุทธิจำนวน 38 ล้านเหรียญสหรัฐ (1,174 ล้านบาท) ซึ่งประกอบด้วย กำไรจากการต่อรองราคาซื้อ
หรือค่าความนิยมติดลบจากการเข้าซื้อกิจการ จำนวน 22 ล้านเหรียญสหรัฐ (687 ล้านบาท)
(รายละเอียดแสดงอยู่ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 เรื่อง การเข้าซื้อธุรกิจ
ในงบการเงินที่ตรวจสอบแล้ว)
รายการค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเข้าซื้อกิจการระหว่างปีและค่าใช้จ่ายก่อนเริ่มดำเนินงาน จำนวน 1
ล้านเหรียญสหรัฐ (24 ล้านบาท)
การกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าเนื่องจากสถานการณ์น้ำท่วม(สุทธิจากเงินประกันที่ได้รับ) จำนวน 2
ล้านเหรียญสหรัฐ (71 ล้านบาท) และกำไรในสินค้าคงเหลือ จำนวน 14 ล้านเหรียญสหรัฐ (441 ล้านบาท)
กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสำหรับไตรมาสที่ 4 ปี 2554
ได้รวมกำไรพิเศษสุทธิจำนวน 66 ล้านเหรียญสหรัฐ (6,510 ล้านบาท) ซึ่งประกอบด้วยกำไรจากการต่อรองราคาซื้อ
หรือค่าความนิยมติดลบจากการเข้าซื้อกิจการ จำนวน 26 ล้านเหรียญสหรัฐ (813 ล้านบาท)
และรายการค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเข้าซื้อกิจการระหว่างปี จำนวน 8 ล้านเหรียญสหรัฐ (246 ล้านบาท)
รายการขาดทุนจากการด้อยค่าเนื่องจากสถานการณ์น้ำท่วมสำหรับส่วนของผู้ถือหุ้น จำนวน 47 ล้านเหรียญสหรัฐ
(1,434 ล้านบาท) และกำไรในสินค้าคงเหลือ จำนวน 36 ล้านเหรียญสหรัฐ (1,124 ล้านบาท)
กำไรการต่อรองราคาซื้อกิจการ Trevira ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2554 และ Polyprima ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2554
นี้เป็นส่วนหนึ่งของส่วนแบ่งกำไรจากการลงทุนในกิจการที่มีการควบคุมร่วมกันในงบการเงิน
กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสำหรับไตรมาสที่ 1 ปี 2554
(ยังมีต่อ)
ที่ IVL007/05/2012
11 พฤษภาคม 2555
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
เรื่อง ขอนำส่งงบการเงินสอบทานสำหรับไตรมาสที่ 1 ของปี 2555 ของบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด
(มหาชน) และคำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
ทางฝ่ายจัดการของบริษัท ขอนำส่งเอกสารดังต่อไปนี้
1. สำเนางบการเงินสอบทานรวมและงบการเงินสอบทานเฉพาะบริษัท สำหรับไตรมาสที่ 1 ของปี 2555
(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
2. คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ สำหรับผลการดำเนินงานประจำไตรมาสที่ 1 ของปี 2555
(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
3. รายงานสรุปผลการดำเนินงาน แบบฟอร์ม 45-3 สำหรับผลการดำเนินงานประจำไตรมาสที่ 1 ของปี 2555
(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายอาลก โลเฮีย)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัทฯ
เลขานุการบริษัท
โทรศัพท์: +66 (0) 2661-6661
โทรสาร: +66 (0) 2661-6664
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1 ปี 2555
บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน) หรือ IVL รายงานรายได้รวมสำหรับไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เท่ากับ
1,696 ล้านเหรียญสหรัฐ กำไรรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (EBITDA)
เท่ากับ 98 ล้านเหรียญสหรัฐ (3,035 ล้านบาท) กำไรสุทธิรวมหลังภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
(รวมรายการพิเศษ) เท่ากับ 55 ล้านเหรียญสหรัฐ (1,691 ล้านบาท)
และอัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทสำหรับผลการดำเนินงานสิบสองเดือนล่าสุด เท่ากับ ร้อยละ 9
ฐานะทางการเงินรวมยังคงแข็งแกร่ง และณ วันที่ 31 มีนาคม 2555
อัตราหนี้สินสุทธิต่อเงินทุนของบริษัทอยู่ที่ ร้อยละ 45 และมีสภาพคล่องสูงถึง 1,020 ล้านเหรียญสหรัฐ
ซึ่งรวมถึงเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และวงเงินสินเชื่อที่ยังมิได้เบิกใช้
ในต้นปี 2555 นี้ ภาพรวมบริษัทมีการปรับตัวขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาสที่ 4 ปี 2554
ซึ่งถือว่าเป็นไตรมาสที่มีผลประกอบการต่ำสุดที่มีมาของบริษัท ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 13
เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2554 จาก 1.05 ล้านตันเป็น 1.19 ล้านตัน
ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของกำไรรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย
(Consolidated EBITDA) และ กำไรหลักรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย
(Core EBITDA) ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 Consolidated EBITDA ของบริษัทฯ เท่ากับ 98 ล้านเหรียญสหรัฐ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 129 จาก 43 ล้านเหรียญสหรัฐ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 นี้
บริษัทมีกำไรในสินค้าคงเหลือเท่ากับ 14 ล้านเหรียญสหรัฐ ส่งผลให้ Core EBITDA เท่ากับ 84
ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จาก 79 ล้านเหรียญสหรัฐ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 Core EBITDA
ต่อตันในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เท่ากับ 71 เหรียญสหรัฐต่อตัน เมื่อเทียบกับ 75
เหรียญสหรัฐต่อตันในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 Core EBITDA ลดลง 4
เหรียญสหรัฐต่อตันสาเหตุหลักเนื่องมาจากอัตรากำไรของ PTA ในทวีปเอเชียที่ต่ำสุดในประวัติการณ์
อย่างไรก็ตามจำนวน EBITDA รวมยังคงสูงขึ้นเนื่องมาจากปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้นและกำไรในสินค้าคงเหลือ
ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ
ล้านเหรียญสหรัฐ
ไตรมาส
1/2555
ไตรมาส
4/2554 ไตรมาส
1/2554 สิบสองเดือน สิ้นสุด
ไตรมาส 1/2555 สิบสองเดือนสิ้นสุด
ไตรมาส
1/2554
อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลล่าร์สหรัฐ 30.84 31.69 30.30 30.84 30.30
อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อยูโร 41.17 41.03 42.86 41.17 42.86
*รายได้จากการขายรวม 1,696 1,394 1,328 6,472 3,643
PET 1,122 975 869 4,505 2,262
โพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ 349 196 189 987 512
PTA 228 231 269 998 869
กำไรรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (EBITDA) 98 43 215 441 557
PET 64 33 117 300 303
โพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ 22 15 48 88 104
PTA 8 0 55 52 155
*กำไรหลักรวมก่อนหักดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (Core EBITDA) 84 79 157 479
477
PET 58 55 84 335 257
โพลีเอสเตอร์ และเส้นใยจากขนสัตว์ 20 23 38 90 89
PTA 2 6 42 54 132
กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 55 (51) 365 203 646
รายจ่ายฝ่ายทุน (CAPEX) 267 177 713 587 898
หนี้สินสุทธิ 1,602 1,377 1,088 1,602 1,088
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุน 0.8 0.7 0.5 0.8 0.5
อัตราความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย 5.3 2.7 16.4 6.6 12.7
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 11% (11%) 95% 10% 47%
อัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัท 7% 1% 29% 9% 19%
กำไรต่อหุ้น (บาท) 0.35 (0.30) 2.45 1.29 4.59
*อ้างถึงข้อสังเกต1 หน้า 12 ข้อมูลทางการเงินรวมภายหลังการตัดรายการระหว่างกันในบริษัทในกลุ่ม
(หรือระหว่างกลุ่มธุรกิจ)
ผลประกอบการไตรมาสที่ 1 ปี 2555 และไตรมาสที่ 4 ปี 2554
ไม่รวมถีงผลการดำเนินงานของโรงงานที่จังหวัดลพบุรี (ซึ่งมีรายได้สิบสองเดือนสิ้นสุดไตรมาสที่ 3 ปี 2554
เท่ากับ 325 ล้านเหรียญสหรัฐ) ซึ่งหยุดดำเนินงานในสองไตรมาสดังกล่าว
และเริ่มเปิดดำเนินงานบางส่วนในเดือนพฤษภาคม 2555 และคาดว่าจะเปิดดำเนินงานเต็มรูปแบบได้ในปี 2556
การเข้าซื้อล่าสุดในกิจการโรงงานผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ Fiber Visions ในอเมริกา ยุโรป และประเทศจีน
ในเดือนมกราคม 2555 ทำให้บริษัทฯ
กลายเป็นผู้นำในธุรกิจผลิตเส้นใยแบบพิเศษสำหรับผลิตภัณฑ์ด้านสุขอนามัยที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว
และการเข้าซื้อโรงงานรีไซเคิล PET และเส้นใยไฟเบอร์ของ Wellman International ในยุโรปในเดือนพฤศจิกายน
2554 ทำให้บริษัทกลายเป็นผู้นำในตลาดยุโรป ที่มีการผลิตครบวงจรภายในห่วงโซ่โพลีเอสเตอร์ นอกจากนี้
อัตราการใช้กำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในโรงงานอื่นของบริษัท
ได้ส่งผลให้ปริมาณการผลิตทั้งหมดเพิ่มขึ้นเป็น 1.2 ล้านตันในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ
13 จากไตรมาสที่ 4 ปี 2554 และร้อยละ 24 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2554
หมายเหตุ : รายได้ทวีปยุโรป รวมรายได้ของทวีปอื่นๆที่เหลือ
แผนภาพข้างบนแสดงปรียบเทียบปริมาณการผลิตเละรายได้รายไตรมาส
ปริมาณผลิตและรายได้ในยุโรปและอเมริกาเหนือฟื้นตัวขึ้นจากไตรมาสที่ 4 ปี 2554
ปริมาณการผลิตในทวีปเอเชียยังคงน้อยจากการปิดดำเนินงานของโรงงานที่จังหวัดลพบุรี
และการปิดปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในโรงงานในประเทศไทยและอินโดนีเซีย นอกจากนี้
ยังมีผลกระทบจากธุรกิจ PTA ซึ่งมีอุปทานส่วนเกินและผลกระทบทางลบจากประเทศจีน
บริษัทฯรายงาน Consolidated EBITDA ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เท่ากับ 98 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ
129 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2554 และลดลงร้อยละ 54 เมื่อเทียบกับ ไตรมาสที่ 1 ปี 2554 ในขณะที่
Core EBITDA (ภายหลังปรับปรุงผลกระทบจากกำไรขาดทุนในสินค้าคงเหลือ) ในไตรมาสที่1 ปี 2555 เท่ากับ 84
ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ปี 2554 และลดลงร้อยละ 47
เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 1 ปี 2554 ขาดทุนในสินค้าคงเหลือจากราคาที่ลดลงในไตรมาสที่ 4 ปี 2554
และกำไรในสินค้าคงเหลือจากราคาที่เพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ทำให้ Core EBITDA
ภายหลังปรับปรุงเพิ่มขึ้นไม่มากนัก ตารางข้างล่างนี้แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ Consolidated EBITDA และ
Core EBITDA
ล้านเหรียญสหรัฐ ยกเว้นข้อมูลต่อตัน
ไตรมาส 1/2555
ไตรมาส 4/2554
ไตรมาส 1/2554 สิบสองเดือนสิ้นสุด
ไตรมาส 1/2555 สิบสองเดือนสิ้นสุด
ไตรมาส 1/2554
Consolidated EBITDA 98 43 215 441 557
(กำไร)ขาดทุนในสินค้าคงเหลือ (14) 36 (57) 37 (80)
Core EBITDA 84 79 157 479 477
Reported EBITDA ต่อตัน $82 $41 $225 $96 $165
Core EBITDA ต่อตัน $71 $75 $165 $104 $141
กำไรสุทธิหลังภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเท่ากับ 55 ล้านเหรียญสหรัฐ ในไตรมาสที่ 1 ปี 2555
เทียบกับขาดทุนสุทธิ 51 ล้านเหรียญสหรัฐในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 และลดลงคิดเป็นร้อยละ 85
เมื่อเทียบกับกำไรสุทธิ 365 ล้านเหรียญสหรัฐในไตรมาสที่ 1 ปี 2554
การเจริญเติบโตในทุกภูมิภาคทั่วโลก
บริษัทยังคงเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดในทุกภูมิภาคทั่วโลก และมีรายได้รวมสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 1.7
พันล้านเหรียญสหรัฐในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 21 จากไตรมาสที่ 4 ปี 2554
รายได้สิบสองเดือนสิ้นสุด ไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เท่ากับ 6.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 77
จากสิบสองเดือนสิ้นสุด ไตรมาสที่ 1 ปี 2554
อัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทตามภูมิภาค (ROCE by geographic)
อัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ได้มีการฟื้นตัวเต็มรูปแบบในภูมิภาคยุโรป
และฟื้นตัวเล็กน้อยในอเมริกาเหนือและเอเชีย
ขาดทุนจากการหยุดดำเนินงานจากสถานการณ์น้ำท่วมในจังหวัดลพบุรี
และการลดลงอย่างมากในอัตราส่วนต่างผลิตภัณฑ์ PTA ในเอเชีย
ส่งผลกระทบอย่างมากต่ออัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทในภูมิภาคเอเชีย
ฝ่ายบริหารคาดว่าอัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนจะดีขึ้นภายหลังการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในช่วงครึ่งปีแ
รกของปี 2555 ในประเทศไทยและอินโดนีเซีย และการขยายกำลังการผลิตที่ประเทศจีนเป็น 500,000 ตันต่อปี
การปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในโรงงาน Invista และ Fibervisions ที่บริษัทเข้าซื้อมา
และการรวมตัวของธุรกิจ EO/EG ในสหรัฐอเมริกา ทั้งหมดนี้
คาดว่าจะช่วยนำอัตราผลตอบแทนต่อเงินทุนของบริษัทกลับสู่อัตราสูงอย่างที่เป็นมาในอดีต
แนวโน้มธุรกิจ
การเติบโตอย่างต่อเนื่องของธุรกิจ แม้ในภาวะตลาดโลกอันผันผวน แสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งของ IVL
ธุรกิจของบริษัทเปรียบเสมือนทางเชื่อมสู่ผู้บริโภค บริษัทไม่ใช่ธุรกิจอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น
ซึ่งจะได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยในสหรัฐอเมริกา ยุโรป หรือกลุ่มทวีปอื่น
จากความต้องการของผู้บริโภคที่ลดลงในสินค้าทั่วไป
ผลิตภัณฑ์ของบริษัทเป็นสินค้าพื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำวัน
ซึ่งยังคงมีความต้องการอย่างต่อเนื่องแม้ในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ
ผลิตภัณฑ์ของบริษัทสามารถพบเห็นได้ทุกที่และเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวัน
บริษัทอยู่ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ ซึ่งมีการรวมตัวกับวัตถุดิบหลักอย่าง PTA และ MEG
การรวมตัวกันนี้ทำให้บริษัทเป็นที่ไว้วางใจของผู้บริโภค จึงได้รับส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้น
เนื่องจากส่วนแบ่งการตลาดที่เพิ่มขึ้นและการแผ่ขยายกิจการไปทั่วโลก
ทำให้บริษัทเข้าสู่การรวมตัวกับธุรกิจต้นน้ำโดยเริ่มจาก PTA และล่าสุด MEG จากการเข้าซื้อกิจการ Old
World ในเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
ธุรกิจของบริษัทฯที่มีการกระจายอยู่ทั่วโลก และมีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
และการควบรวมภายในห่วงโซ่โพลีเอสเตอร์ ทำให้เกิดการป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ
อีกทั้งบริษัทฯสามารถรักษาผลดำเนินงานให้อยู่ในระดับสูงกว่ามาตรฐาน
ฝ่ายบริหารได้ตระหนักถึงการรวมตัวของกิจการที่บริษัทได้เข้าซื้อ
เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มและการนำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆจากนวัตกรรมที่บริษัทมี
การเสร็จสิ้นเข้าซื้อธุรกิจ Old World ในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนเมษายน ปี 2555
เป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ที่จะผลักดันให้เป็นไปตามแผนการควบรวมภายในห่วงโซ่มูลค่าโพลีเอสเตอร์
สู่วัตถุดิบหลักอย่าง Mono Ethylene Glycol (MEG) และ Purified Ethylene Oxide (PEO)
โรงงานตั้งอยู่ในศูนย์กลางของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ใน Clear Lake มลรัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริกา
ซึ่งเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ได้เปรียบในการจัดหาวัตถุดิบและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ MEG
เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต PET โพลีเมอร์และเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์
นอกจากนี้ยังเป็นก้าวไปสู่การเติบโตในผลิตภัณฑ์ใหม่ๆซึ่งมีอัตรากำไรที่สูงขึ้น (เป็นโรงงานผลิต EO/MEG
แรกของ IVL) Old World มีฐานการผลิต ฐานลูกค้า เครือข่ายผู้จัดหาสินค้าและทีมบริหารที่มีประสบการณ์
การเข้าซื้อกิจการดังกล่าว คาดว่าจะทำให้ IVL มีผลกำไรและสร้างความมั่นคงในธุรกิจในระยะยาว นอกจากนี้
ยังได้รับการสนับสนุนโดยแนวโน้มธุรกิจในทางบวกของ EO/MEG ในอเมริกาเหนือ
สำหรับการเติบโตในด้านความต้องการ อัตราการใช้กำลังการผลิต และอัตรากำไร อเมริกาเหนือมีอุปทานของ
Ethylene
จากผู้จำหน่ายหลายรายโดยการขนส่งผ่านท่อและมีแหล่งวัตถุดิบที่เป็นประโยชน์จากก๊าซธรรมชาติและก๊าซจากชั้น
หิน Old World จึงสร้างโอกาสในการเกื้อหนุนทางธุรกิจ (Synergies)
และเสริมสร้างการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพของ IVL ในการผลิต PET โพลีเมอร์ส และเส้นใย
เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ ซึ่งมีกำลังการผลิตประมาณ 1.7 ล้านตันในอเมริกาเหนือ
อัตรากำไร PTA ในทวีปเอเชีย คาดว่ายังคงอยู่ในระดับที่ต่ำตลอดทั้งปี 2555
แต่โรงงานของบริษัทยังคงรักษาอัตราการใช้กำลังการผลิตในระดับสูง และได้รับประโยชน์จากการเพิ่มการบริโภค
PTA ภายในกลุ่มบริษัท ที่สูงกว่าร้อยละ 50 โดยกลุ่มธุรกิจ PET โพลีเมอร์ส
และเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์
ฝ่ายบริหารจึงมุ่งเป้าไปที่การรวมตัวและการเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานของธุรกิจปัจจุบัน
และการขยายกำลังการผลิตในโรงงานหลายแห่งที่กำลังดำเนินอยู่ เพื่อบรรลุผลประกอบการที่เพิ่มขึ้นของ IVL
ในบทวิเคราะห์แต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์ได้อธิบายถึงการดำเนินการในปี 2555
ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบจากอัตรากำไรในธุรกิจ PTA ในทวีปเอเชียที่ลดลง
เนื่องจากลักษณะของโพลีเอสเตอร์ที่จัดหาง่าย และเป็นสินค้าอุปโภคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน (อาหาร
เครื่องดื่ม และเสื้อผ้า) บริษัทฯคาดว่าจะได้รับผลดีจากการที่บริษัทมีโรงงานอยู่ทั่วภูมิภาคหลักของโลก
ในฐานะผู้นำของตลาด และการควบรวมในอุตสาหกรรม การลงทุนในนวัตกรรม
หรือสินค้าเพิ่มมูลค่าจะทำให้อัตรากำไรโดยรวมเพิ่มมากขึ้น และจะเป็นประโยชน์ต่อไปอีกในภายภาคหน้า
บริษัทคาดว่าในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 จะมีรายได้และกำไรที่เพิ่มขึ้น
จากการเริ่มเปิดดำเนินงานของโรงงานที่จังหวัดลพบุรีหลังจากเหตุการณ์น้ำท่วม และจากกิจการ Old World
ที่เข้าซื้อเสร็จสิ้นแล้ว ทำให้มีการรวมผลการดำเนินงานและกำไรในไตรมาสต่อๆมา การเข้าซื้อกิจการ PET
ในอินโดนีเซียคาดว่าจะเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 2 ปี 2555
และคาดว่าจะสร้างกำไรได้ทันทีในผลการดำเนินงานปีแรก
โครงการที่ประกาศถึง ไตรมาสที่ 1 ปี 2555
โครงการที่ได้รับการอนุมัติตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี 2555 จนถึงปัจจุบัน
ในเดือนมีนาคม ปี 2555 บริษัทประกาศซื้อกิจการผลิตเม็ดพลาสติก PET ในอัตราร้อยละ 100 ของ PT Polypet
Karyapersada ซึ่งโรงงานตั้งอยู่ที่เมือง Cilegon ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีกำลังการผลิต 100,800 ตันต่อปี
บริษัทได้ลงนามในสัญญาการซื้อทรัพย์สินกับผู้ขายเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2555 PT Polypet Karyapersada
ตั้งอยู่ติดกับบริษัทร่วมค้าของบริษัท คือ PT Indorama Petrochemicals (ชื่อเดิม PT Polyprima
Karyesreska) ซึ่งเป็นผู้ผลิต PTA และทำให้บริษัทมีโอกาสในการรวมและขยายฐานธุรกิจที่มั่นคงในตลาด PET
ประเทศอินโดนีเซียต่อไป ทั้งนี้บริษัทจะจัดตั้งบริษัทย่อยทางอ้อมแห่งใหม่ คือ PT. Indorama Polypet
Indonesia เพื่อเข้าถือทรัพย์สินดังกล่าวข้างต้น
โครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
เดือนมกราคม 2555 ฝ่ายบริหารประกาศแผนการปรับโครงสร้าง Trevira GmbH ในประเทศเยอรมัน
เพื่อเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพด้านการผลิตและด้านการตลาดของบริษัทร่วมค้า Trevira GmbH
ฝ่ายบริหารได้ทำการปรับโครงสร้างและผนึกรวมสถานที่ตั้งในเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญทั้งหมดของแหล่งการผลิตเส้นใ
ยเส้นด้าย โดยการย้ายฐานการผลิตจากเมือง Zielona Gira ในประเทศโปแลนด์ ไปที่เมือง Gubenในประเทศเยอรมัน
ที่ซึ่ง Trevira มีฐานการผลิตอยู่แล้ว
การปรับโครงสร้างดังกล่าวคาดว่าจะสามารถทำให้ปรับลดโครงสร้างต้นทุนของกิจการและเป็นการตอบสนองความต้องกา
รอย่างมีประสิทธิภาพให้แก่ลูกค้าได้โดยคาดว่าจะดำเนินการย้ายฐานการผลิตเสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2555
เดือนสิงหาคม 2554 การลงทุนในการผลิตเส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์รีไซเคิล มีกำลังการผลิตอยู่ที่
28,500 ตันต่อปี ภายใต้โครงการนี้ ขวด PET
ที่ถูกทิ้งหรือใช้แล้วจะถูกรวบรวมและรีไซเคิลไปเป็นผลิตภัณฑ์พลาสติกคุณภาพสูงเพื่อใช้เป็นบรรจุภัณฑ์สำหร
บเครื่องดื่ม เส้นใยพิเศษเพื่อใช้ผลิตเครื่องแต่งกายภายใต้ตราสินค้าที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม
และเส้นด้ายสีสำหรับยานยนต์และเส้นด้ายที่ไม่ผ่านการทอ บริษัทฯได้ออกตราสินค้า ECORAMA
สำหรับผลิตภัณฑ์เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์รีไซเคิล และเพิ่งได้รับรางวัลใบประกาศ Green Label
จากสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย โครงการนี้จะตั้งอยู่ที่จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย
ภายในบริเวณเดียวกับโรงงานของอินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรีส์ เงินลงทุนทั้งหมดคาดว่าประมาณ 22.4
ล้านเหรียญสหรัฐ คาดว่าจะสามารถเปิดดำเนินงานได้ในปี 2556
เดือนสิงหาคม 2554 การลงทุนในโครงการเส้นใยผสมสำหรับสินค้าอนามัย มีกำลังการผลิต 16,000 ตันต่อปี
บริษัทฯได้เข้าสู่ตลาดการใช้วัตถุดิบที่ไม่ผ่านการทอ และเพิ่งเข้าซื้อกิจการผลิตเส้นใยผสมในยุโรป
Trevira เพื่อการผลิตสำหรับธุรกิจอนามัยเป็นหลัก
สินค้าอนามัยใช้เทคโนโลยีชั้นสูงที่ต้องผ่านกระบวนการผลิตชั้นนำ และใกล้ชิดกับผู้บริโภค
เพื่อที่จะสามารถระบุความต้องการในผลิตภัณฑ์ที่ใช้สัมผัสกับผิวหนัง เช่น ผ้าอ้อมเด็ก
ผลิตภัณฑ์สุขอนามัยของผู้หญิง และอื่นๆ
โครงการใหม่นี้จะทำการผลิตส่วนประกอบหลักที่ใช้ในการผลิตเส้นใยผสมสำหรับสินค้าอนามัย
โดยใช้เทคโนโลยีร่วมกับ Toyobo ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นบริษัทที่มีชื่อเสียงในสาขานี้
โครงการนี้ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง ประเทศไทย ใช้เงินลงทุนทั้งหมดประมาณ 21.2 ล้านเหรียญสหรัฐ
คาดว่าจะสามารถเปิดดำเนินงานได้ในไตรมาสที่ 2 ปี 2555
เดือนสิงหาคม 2554 การลงทุนในเส้นใยผสมคุณภาพสูง (FINNE) ที่โรงงาน IVI ที่บริษัทฯเพิ่งเข้าซื้อกิจการมา
(เดิมชื่อ SK Keris) ที่เมือง Tangerang ประเทศอินโดนีเซีย ด้วยกำลังการผลิต 16,000 ตันต่อปี IVI
มีเทคโนโลยีเฉพาะในการผลิตเส้นใยผสม (FINNE) โดยผ่านเพียงหนึ่งกระบวนการผลิต
บริษัทฯจะได้ข้อได้เปรียบด้านการแข่งขันกว่าบริษัทอื่นที่ยังต้องผ่านสองกระบวนการผลิต
และจะมีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่งในกลุ่มธุรกิจนี้
ผลิตภัณฑ์นี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากสำหรับการผลิตเสื้อผ้าชั้นนอก และผ้าม่าน
ซี่งยังมีคู่แข่งขันน้อยรายที่ผลิตได้ ทำให้บริษัทฯมีศักยภาพในการเติบโตที่สูง
โครงการนี้คาดว่าจะใช้เงินลงทุนทั้งหมดประมาณ 38.0 ล้านเหรียญสหรัฐ
คาดว่าจะสามารถเปิดดำเนินงานได้ในไตรมาสที่ 1 ปี 2556
เดือนพฤษภาคม 2554 ที่ประชุมกรรมการบริษัท ได้มีมติให้ขยายกำลังการผลิต PTA ที่ Indorama Holdings
Rotterdam BV โดยเพิ่มสายการผลิตใหม่ที่มีกำลังการผลิต 250,000 ตันต่อปี ทำให้โรงงานมีกำลังการผลิตรวม
600,000 ตันต่อปี การขยายกำลังการผลิตนี้คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2556 จะทำให้เกิดข้อได้เปรียบด้านต้นทุน
และส่งเสริมการควบรวม PTA ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต PET ในทวีปยุโรป ทั้งนี้
บริษัทฯจะมีกำลังการผลิต PTA ในยุโรปเพิ่มขึ้นเป็น 811,000 ตันต่อปี
ในเดือนเมษายน 2554 บริษัทประกาศการขยายโรงงาน การผลิต PET ในทวีปยุโรป ด้วยกำลังการผลิต 220,000
ตันต่อปี การขยายกำลังการผลิตดังกล่าวอยู่ภายในโรงงานผลิต PET
เดิมที่มีอยู่แล้วในประเทศโปแลนด์ภายใต้บริษัท Indorama Polymers Poland S.p.z.o.o
ซึ่งจะทำให้เกิดการประหยัดต่อขนาด และการใช้ท่อส่ง PTA ร่วมกับบุคคลภายนอกที่เป็นผู้ผลิต PTA
การขยายกำลังการผลิตคาดว่าจะเสร็จสิ้นภายในสิ้นปี 2555 หรือต้นปี 2556
และจะทำให้เกิดข้อได้เปรียบด้านต้นทุนและเพิ่มกำลังการผลิตทั้งหมดในประเทศโปแลนด์เป็น 370,000 ตันต่อปี
และบริษัทฯจะมีกำลังการผลิต PET ในทวีปยุโรปรวมเท่ากับ 1.5 ล้านตันต่อปี
ในเดือนมีนาคม 2554 บริษัทฯประกาศการก่อตั้งโรงงานผลิต Continuous Polymerization resin ที่กำลังการผลิต
300,000 ตันต่อปี ในเมือง Purwakarta ประเทศอินโดนีเซีย ผลผลิตที่ได้จากโรงงานจะกระจายไปสู่ตลาดเส้นใย
เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ และชิป ในประเทศอินโดนีเซีย และภูมิภาคเอเชีย ที่มีความต้องการสูงขึ้น พีที
อินโดรามา ปิโตรเคม อินโดนีเซีย
ซึ่งเป็นบริษัทย่อยใหม่ของบริษัทฯได้ถูกจัดตั้งขึ้นที่ประเทศอินโดนีเซียสำหรับโครงการ Greenfield นี้
โรงงานดังกล่าวคาดว่าจะเริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์ได้ในไตรมาสที่ 2 ปี 2556
ในเดือนสิงหาคม 2553 บริษัทอนุมัติให้จัดตั้งโรงงานผลิต PET ใหม่โดยบริษัทย่อย อินโดรามา โพลีเมอร์ส
จำกัด (มหาชน) หรือ IRP ซึ่ง IRP จะ ทำการจัดตั้งบริษัทย่อยเพื่อลงทุนในโรงงานผลิต PET แบบ Solid state
polymerization "SSP" ที่มีกำลังการผลิต 84, 000 ตันต่อปี ที่ Port Harcourt ประเทศไนจีเรีย
การลงทุนครั้งนี้ ถือเป็นการลงทุนครั้งแรกของบริษัทในแอฟริกา ที่ซึ่งตลาดมีความต้องการถึง 450,000
ตันต่อปี ในปัจจุบันมีเพียงผู้ผลิต PET รายเดียวเท่านั้นในแอฟริกา
โรงงานดังกล่าวคาดว่าจะแล้วเสร็จและเริ่มดำเนินการเชิงพาณิชย์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2555
และคาดว่าจะเพิ่มมูลค่ากำไรแก่บริษัท
ในเดือนพฤษภาคม 2553 บริษัทอนุมัติการเพิ่มสายการผลิตเม็ดพลาสติก PET ภายในบริเวณโรงงาน Indorama
Polymers Rotterdam BV ซึ่งจะเพิ่มกำลังการผลิตเม็ดพลาสติก PET อีก 187, 000 ตัน
ทำให้กำลังการผลิตทั้งหมดของโรงงานเป็น 390,000 ตัน
การขยายโรงงานดังกล่าวคาดว่าจะแล้วเสร็จและเริ่มดำเนินการผลิตได้ในไตรมาสที่ 3 ปี 2555
และจะผลิตได้เต็มกำลังในปี 2556การขยายโรงงานครั้งนี้ทำให้เกิดการว่าจ้างงานเพิ่มขึ้น นอกจากนี้
ยังสามารถเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดของบริษัทในยุโรป และเพิ่มการบริโภค PTA ภายในกลุ่ม จากโรงงานผลิต PTA ใน
Rotterdam และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากบริษัทในกลุ่มที่ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน
อีกทั้งยังช่วยในเรื่องของการประหยัดต่อขนาดด้วย การขยายโรงงานนี้คาดว่าจะเพิ่มมูลค่ากำไรแก่บริษัท
ภายหลังเสร็จสิ้นแผนการเข้าซื้อและการขยายกิจการทั้งหมด
บริษัทจะมีข้อได้เปรียบในการบริหารกิจการในระดับภูมิภาค ทำให้กำลังการผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 8.6
ล้านตันต่อปี (รวมกิจการร่วมทุน Ottana Polimeri, Trevira และ Polyprima ซึ่งจะได้รับเป็นส่วนแบ่งกำไร)
บริษัทจะกลายเป็นผู้นำตลาดทั้งในประเทศไทย อเมริกาเหนือ และยุโรป
หน่วย: ล้านตันต่อปี
เพิ่มขึ้น PET PTA เส้นใยและเส้นด้าย Glycol รวม
กำลังการผลิตสิ้นปี 2554
ประเทศไทย 0.281 1.373 0.290 1.944
ประเทศอินโดนีเซีย 0.088 0.110 0.198
ประเทศจีน 0.406 0.406
ทวีปยุโรป 0.921 0.561 0.273 1.755
ทวีปตะวันออกกลางและแอฟริกา -
ทวีปอเมริกาเหนือ 1.555 0.071 1.626
รวม 3.251 1.934 0.744 5.929
*กำลังการผลิตของกิจการร่วมค้า 0.161 0.184 0.120 0.465
กำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในปี 2555
ทวีปอเมริกาเหนือ Old World 0.632 0.632
ทวีปยุโรป IRP-Rotterdam 0.031 0.031
ประเทศอินโดนีเซีย Polypet 0.101 0.101
ทวีปตะวันออกกลางและแอฟริกา Nigeria-Greenfield 0.084 0.084
ทวีปอเมริกาเหนือ Fibervision 0.221 0.221
ประเทศอินโดนีเซีย* Polyprima 0.500 0.500
ประเทศไทย TPT-Debottl. 0.011 0.011
ประเทศจีน China-Exp. 0.116 0.116
ประเทศไทย IPI-BICO/CP 0.021 0.021
รวม 0.332 0.511 0.242 0.632 1.717
*กำลังการผลิตของกิจการร่วมค้า 0.500 0.500
กำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นในปี 2556
ทวีปยุโรป Rotterdam-Exp. 0.156 0.156
ทวีปยุโรป Poland-Exp. 0.220 0.220
ประเทศอินโดนีเซีย CP4-Greenfield 0.300 0.300
ประเทศอินโดนีเซีย Finne-Exp. 0.016 0.016
ประเทศไทย IPI-Recycling 0.028 0.028
ทวีปยุโรป Rotterdam-Exp. 0.250 0.250
รวม 0.376 0.250 0.344 0.970
กำลังการผลิตสิ้นปี 2556
ประเทศไทย 0.281 1.384 0.339 2.004
ประเทศอินโดนีเซีย* 0.189 0.500 0.426 1.115
ประเทศจีน 0.522 0.522
ทวีปยุโรป* 1.328 0.811 0.273 2.412
ทวีปตะวันออกกลางและแอฟริกา 0.084 0.084
ทวีปอเมริกาเหนือ 1.555 0.292 0.632 2.479
รวม 3.959 2.695 1.330 0.632 8.616
*รวมกำลังการผลิตของกิจการร่วมค้า 0.161 0.684 0.120 0.965
*กำลังการผลิต ปริมาณการผลิต ปริมาณการขาย และอัตราการใช้กำลังการผลิต
ที่รายงานไปนั้นรวมเฉพาะผลประกอบการของกิจการที่รวมอยู่ในงบการเงินรวม (Consolidated)
ไม่รวมถึงผลประกอบการของกิจการที่บันทึกในรูปของเป็นส่วนแบ่งกำไรจากการลงทุน (Equity Income)
ข้อสังเกต :
ข้อมูลทางการเงินรวมภายหลังการตัดรายการระหว่างกันในบริษัทในกลุ่ม (หรือระหว่างกลุ่มธุรกิจ)
ทำให้อาจไม่เท่ากับยอดรวมของแต่ละส่วนธุรกิจ
*กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสำหรับไตรมาสที่ 1 ปี 2555
ได้รวมกำไรพิเศษสุทธิจำนวน 38 ล้านเหรียญสหรัฐ (1,174 ล้านบาท) ซึ่งประกอบด้วย กำไรจากการต่อรองราคาซื้อ
หรือค่าความนิยมติดลบจากการเข้าซื้อกิจการ จำนวน 22 ล้านเหรียญสหรัฐ (687 ล้านบาท)
(รายละเอียดแสดงอยู่ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3 เรื่อง การเข้าซื้อธุรกิจ
ในงบการเงินที่ตรวจสอบแล้ว)
รายการค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเข้าซื้อกิจการระหว่างปีและค่าใช้จ่ายก่อนเริ่มดำเนินงาน จำนวน 1
ล้านเหรียญสหรัฐ (24 ล้านบาท)
การกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าเนื่องจากสถานการณ์น้ำท่วม(สุทธิจากเงินประกันที่ได้รับ) จำนวน 2
ล้านเหรียญสหรัฐ (71 ล้านบาท) และกำไรในสินค้าคงเหลือ จำนวน 14 ล้านเหรียญสหรัฐ (441 ล้านบาท)
กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสำหรับไตรมาสที่ 4 ปี 2554
ได้รวมกำไรพิเศษสุทธิจำนวน 66 ล้านเหรียญสหรัฐ (6,510 ล้านบาท) ซึ่งประกอบด้วยกำไรจากการต่อรองราคาซื้อ
หรือค่าความนิยมติดลบจากการเข้าซื้อกิจการ จำนวน 26 ล้านเหรียญสหรัฐ (813 ล้านบาท)
และรายการค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเข้าซื้อกิจการระหว่างปี จำนวน 8 ล้านเหรียญสหรัฐ (246 ล้านบาท)
รายการขาดทุนจากการด้อยค่าเนื่องจากสถานการณ์น้ำท่วมสำหรับส่วนของผู้ถือหุ้น จำนวน 47 ล้านเหรียญสหรัฐ
(1,434 ล้านบาท) และกำไรในสินค้าคงเหลือ จำนวน 36 ล้านเหรียญสหรัฐ (1,124 ล้านบาท)
กำไรการต่อรองราคาซื้อกิจการ Trevira ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2554 และ Polyprima ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2554
นี้เป็นส่วนหนึ่งของส่วนแบ่งกำไรจากการลงทุนในกิจการที่มีการควบคุมร่วมกันในงบการเงิน
กำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้และส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสำหรับไตรมาสที่ 1 ปี 2554
(ยังมีต่อ)